Page 63 -
P. 63

ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                    ิ
                                                                   ิ
                                 ื
                                             ิ
                                                ์

           al. 2020) สวนยีสตปฏิปกษ 3 สายพันธที่ใชความคุมโรคกลาขาวเนาที่เกิดจากรา คือ T. indica

           DMKU-RP31 และ W. anomalus YE-42 ซึ่งความคุมโรคกลาขาวเนาที่มีสาเหตุจาก C. lunata และ

           H. oryzae ไดสมบูรณ และ W. anomalus DMKU-RP04 ซึ่งความคุมโรคกลาขาวเนาที่มีสาเหตุจาก

           H. oryzae ไดสมบูรณ พบวาสรางไบโอฟลมไดเชนกัน (Limtong et al. 2020) และ W. anomalus

           DMKU-RP25 ซึ่งสามารถควบคุมโรคกาบใบแหงของขาวซึ่งมีสาเหตุจาก R. solani ไดเมื่อทดลองกับ


      บทที่ 2   ตนขาวในเรือนกระจก และมีความสามารถในการสรางไบโอฟลมเมื่อทดลองในหลอดทดสอบ (Into
           et al. 2020)


           การเหนี่ยวนำความตานทานของพืช


                     พืชสามารถเหนี่ยวนำใหตานทานโรคเพิ่มขึ้นไดโดยสิ่งเหนี่ยวนำทางชีวภาพ ซึ่งอาจเปน

           สิ่งเหนี่ยวนำที่มีชีวิต เชน เชื้อกอโรค และสิ่งเหนี่ยวนำที่ไมมีชีวิต เชน ไออนของโลหะหนัก ไดแก

           คอปเปอร ในธรรมชาติพืชมีวิธีการปองกันตนเองจากจุลินทรียที่มารุกราน โดยอาจใช
                                                                                                            
           การสรางโครงสรางปองกัน (structural defense) เชน การสรางแว็กซหรือคิวตินเคลือบ

           ผิวใบดานนอก และการปองกันทางชีวเคมี (biochemical defense) เชน การปลอยสารไฟโตอเล็กซน
                                                                                                           ิ
           (phytoalexin) ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อกอโรคได รวมทั้งการสังเคราะหโปรตีนที่สัมพันธ

           กับพยาธิกำเนิด (pathogenesis-related proteins; PRs) หลายชนิด (van Loon et al. 2006)

                     พืชมีระบบภูมิคุมกันโดยกำเนิด (innate immune system) ที่จดจำและตอบสนองตอ

           จุลินทรียที่ปรากฏบนพืช (Chisholm et al. 2006) การตอบสนองของระบบภูมิคุมกันของพืชสามารถ

           เหนี่ยวนำใหเกิดความตานทานที่เปนระบบ (systemic resistance) การเหนี่ยวนำใหเกิดความตานทาน

           ที่เปนระบบนี้ เปนแนวทางใหใชจุลินทรียเปนปุยและสารเสริมการเจริญพืช (Gozzo and Faoro 2013;

           Pieterse et al. 2014) โดยความตานทานที่เปนระบบของพืช แบงเปน 2 แบบ คือ 1) ความตานทานที่

           เปนระบบซึ่งเกิดตามธรรมชาติ (systemic acquired resistance, SAR) เปนความตานทานของพืชเมื่อ

           เกิดการติดเชื้อกอโรคเฉพาะที่ และมีกรดซาลิไซลิก (salicylic acid, SA) เปนสื่อ สารประกอบที่มัก

           สรางหลังจากการติดเชื้อกอโรค คือ โปรตีนที่สัมพันธกับการเกิดโรค (pathogenesis-related

           proteins, PR) โปรตีนที่สัมพันธกับการเกิดโรค รวมทั้งเอนไซมหลายชนิดอาจทำใหเซลลที่บุกรุก

           สลายโดยตรง เสริมสรางขอบเขตผนังเซลลพืชเพื่อตอตานการติดเชื้อกอโรค หรือทำใหเกิดการตาย

           ของเซลลเฉพาะที่ SAR อาจเหนี่ยวนำโดยการเพาะพืชดวยเชื้อกอโรคที่ตายแลวหรือเชื้อที่ไมไดเปน

           เชื้อกอโรค หรือสารประกอบจากธรรมชาติ หรือสารประกอบที่สังเคราะหขึ้น 2) ความตานทานที่

           เปนระบบซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวนำ (induced systemic resistance, ISR) จุลินทรียดินที่เขาไปอาศัยที่








     54  กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68