Page 58 -
P. 58

์
                                    ิ
                                 ื
                                                                              ิ
                                                                   ิ
                                             ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                การเปนปฏิปกษทางออม


                การสงเสริมการเติบโตของพืช

                         การสงเสริมการเติบโตและความแข็งแรงของพืชนับเปนกิจกรรมที่สำคัญของกลุมจุลินทรีย

                ปฏิปกษรวมทั้งยีสตปฏิปกษในการควบคุมทางชีวภาพ เพิ่มสารอาหารพืช เพิ่มความทนตอความเคน

                หรือทำใหพืชมีสุขภาพดีขึ้น สงเสริมใหพืชตานทานตอการเขาทำลายของเชื้อกอโรคพืชโดยใช             

                หลักการเกี่ยวกับการใชสารอาหารของพืช คือ หากพืชสามารถใชสารอาหารไดเต็มศักยภาพ หรือ                      บทที่ 2

                เจริญอยูในสภาพที่เหมาะสมหรือสมบูรณจะทำใหพืชจะมีความแข็งแรง มีจุลินทรียหลายชนิดทีเมื่อ
                                                                                                              ่
                อยูรวมกับพืชแลวสามารถสงเสริมการเติบโตของพืชไดดี จุลินทรียเหลานั้นอาจไดรับประโยชนจาก

                การอยูอาศัยกับผิวพืชดวย (Vacheron et al. 2013) จุลินทรียกลุมที่สงเสริมการใชสารอาหารของพืช

                ไดแก จุลินทรียที่สังเคราะหฮอรโมนพืช เชน กลุมออกซินชนิดกรดอินโดล-3-แอซีติก (indole-3-

                acetic acid, IAA) กลุมจิบเบอเรลลิน (gibberellin) ไซโตไคนิน (cytokinin) เอธิลีน (ethylene) ฮอรโมน

                พืชจะกระตุนการแบงเซลลและขยายขนาดของเซลลทําใหพืชเติบโตเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยีสตบางชนิด

                                                                                                                
                สามารถละลายฟอสเฟต (phosphate solubilization) โดยสรางเอนไซมหรือกรดอินทรียบางชนิด เชน
                กรดแลกติก (lactic acid) กรดซิตริก (citric acid) กรดคีโทกลูโคนิก (ketogluconic acid) กรดมาลิก

                (malic acid) กรดออกซาลิก (malic acid) กรดทารทาริก (tartaric acid) กรดซักซินิก (succinic acid)

                ออกมายอยฟอสเฟตที่ตกตะกอนในดินทำใหพืชนำไปใชประโยชนได ยีสตที่ละลายฟอสเฟต เชน

                Torulaspora globosa DMKU-RP31 (Nutaratat et al. 2014)


                การแขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที      ่


                          การเจริญของเชื้อกอโรคพืชขึ้นอยูกับสารอาหาร บางชนิดใชอาหารเฉพาะจากเซลลของ

                พืชอาศัยโดยไมใชอาหารจากแหลงภายนอกเมื่ออยูในสภาพแวดลอมนอกพืชอาศัย เชื้อกอโรคพืช

                ชนิดนี้เรียกวา เชื้อกอโรคพืชชนิดไบโอโทรฟ (biotrophic plant pathogen) ในขณะเชื้อกอโรคพืชสวน

                ใหญไดอาหารจากวิธีที่จำเพาะนอยกวาโดยการยอยสลายสารอินทรียจากพืช ซึ่งเรียกวา

                เชื้อกอโรคพืชชนิดนีโครโทรฟ (necrotrophic plant pathogen) โดยเชื้อกอโรคฆาและตามดวยการ

                บุกรุกเนื้อเยื่อของพืชอาศัยและใชสารอาหารที่มีในเยื่อที่ตายสำหรับการเจริญ เมื่อเนื้อเยื่อพืชตาย

                จุลินทรียอื่นที่ไมไดเปนสาเหตุโรคสามารถเขาไปอาศัยในเยื่อที่ตายแลวนั้น ดังนั้นจึงเกิดการแขงขัน

                ระหวางจุลินทรียกอโรคและจุลินทรียอื่นเพื่อสารอาหารและพื้นที่ขึ้นได (Köhl et al. 2019) ดังนั้น

                จุลินทรียที่มีการแขงขันสูงจึงเปนตัวเลือกที่มีศักยภาพสำหรับการควบคุมทางชีวภาพที่ใชกลไกการ

                แขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที่ ในการควบคุมทางชีวภาพความรูโดยละเอียดเกี่ยวกับระบาดวิทยา






                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      49
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63