Page 53 -
P. 53

ิ
                                                                   ิ
                                    ิ
                                                ์
                                 ื
                                                                              ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

           RP25 ในการยับยั้งการเจริญของรา Rhizoctonia solani ซึ่งเปนสาเหตุโรคกาบใบแหงของขาว (Into et

           al. 2020)

                     โปรทีเอส เปนเอนซที่มีความสำคัญในราที่เปนสาเหตุโรคแมลง และปรสิตของรา

           (mycoparasite) แตมีการศึกษานอยในยีสตปฏิปกษที่ใชควบคุมทางชีวภาพ เนื่องจากการสราง

           โปรทีเอสจะตรวจพบในชวงหลัง ๆ ของการเจริญ เชน หลังจาก 6-8 วันเมื่อเลี้ยง Candida oleophila


      บทที่ 2   ในอาหารที่อุดมสมบูรณ โดยสันนิฐานวามีบทบาทนอยในกิจกรรมการควบคุมทางชีวภาพ
           (Freimoser et al. 2019) ยีสตที่สรางโปรทีเอส เชน M. pulcherrima, O. methanolica, Sac. Schoenii,

           W. anomalus (Junker et al. 2019; Pretscher et al. 2018)

                     สารประกอบอินทรียระเหยงาย เปนสารที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ (มักต่ำกวา 300

           ดาลตัน) มีความสามารถในการละลายต่ำ และความดันไอสูง ไดแก ไฮโดรคารบอน แอลกอฮอล

           ไทโอแอลกอฮอล (thioalcohol) อัลดีไฮด (aldehyde) ไทโอเอสเทอร (thioester) ไซโคลเฮกเซน

           (cyclohexane) สารประกอบเฮทเทอโรไซคลิก (heterocyclic compound) อนุพันธของฟนอล เบนซีน

           (Morath et al. 2012; Freimoser et al. 2019) องคประกอบเคมีของสวนผสมของสารระเหยแตละ

           ชนิด ที่เรียกวา โวลาไทโลม (volatilome) อาจเปลี่ยนแปลงไปขึ้นอยูกับยีสตที่ผลิต เชื้อกอโรคที่ไปเปน

           ปฏิปกษ และระบบนิเวศยอย ๆ (Parafati et al. 2017a) การผลิตสารอินทรียระเหยงายที่มีกิจกรรม

           ตานจุลินทรีย (antimicrobial activity) ของยีสตถือวาเปนสารรมทางชีวภาพ (biofumigant) ในอุดมคติ

           เพราะสามารถกระจายตัวไดในอากาศเมื่ออยูในภาวะปกติ ทำใหไมตองการการสัมผัสทางกายภาพ

           ระหวางยีสตปฏิปกษและรากอโรคพืช (Spadaro and Droby 2016) อยางไรก็ตามเมื่อเทียบกับ

           ราเสนใยพบวายีสตผลิตไดนอยกวา และผลิตสารไดไมกี่ชนิด ยีสตปฏิปกษหลายชนิดผลิต

           สารประกอบอินทรียระเหยงายและไดรับการเสนอวามีบทบาทสำคัญในการควบคุมทางชีวภาพของ

           รากอโรคพืชหลังเก็บเกี่ยวในสภาพที่มีการถายเทอากาศดี (Zhang  et al. 2020) Contarino et al.

           (2019) รายงานวาอินทรียระเหยงายที่ปลอยจากยีสตปฏิปกษสวนใหญเปนพวก เอทิลแอลกอฮอล

           (ethyl alcohol) ฟนิลเอทิลแอลกอฮอล (phenylethyl alcohol), 3-เมทิล-1-บิวทานอล (3-methyl-1-

           butanol) เอทิล-แอซิเทต (ethyl acetate) และไอโซเอมิลแอซิเทต (isoamyl acetate) อยางไรก็ตามมี

           รายงานวาสารประกอบอินทรียระเหยงายที่ผลิตโดยรา Muscodor albus ทำใหดีเอ็นเอเสียหายและ

           เปนพิษตอเซลลของแบคทีเรีย แสดงวาสารประกอบอินทรียระเหยงายบางชนิดอาจมีความเปนพิษ

           (Alpha et al. 2015) ดังนั้นควรตองประเมินความปลอดภัยของการใชสารประกอบอินทรียระเหยงาย

           ในการศึกษาดวย (Zhang et al. 2020)

                     สารประกอบอินทรียระเหยงายที่ผลิตโดย Aureobasidium  pullulans ซึ่งเปนราคลายยีสต

           2 สายพันธุ คือ สายพันธุ L1 และสายพันธุ L8 พบวามีประสิทธิภาพลดการเจริญและการเกิด




     44  กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58