Page 51 -
P. 51
ิ
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
การเหนี่ยวนำความตานทานของพืช (Freimoser et al. 2019; Köhl et al. 2019; Pal and Gardener
2006; Wisniewski and Droby 2012)
การเปนปฏิปกษโดยตรง
การเปนปฏิปกษโดยตรงของยีสตปฏิปกษที่มีตอรากอโรคพืชและโรคหลังการเก็บเกี่ยว
บทที่ 2 ประกอบดวย ภาวะยับยั้ง และภาวะปรสิต ดังนี้
ภาวะยับยั้ง (Antibiosis)
ภาวะยับยั้งเปนกระบวนการของจุลินทรียปฏิปกษที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งหรือระงับ
กิจกรรมหรือการเจริญของเชื้อกอโรคหรือทั้ง 2 อยาง กระบวนการนี้เปนปฏิสัมพันธที่เกี่ยวกับ
่
สารประกอบที่มีขนาดโมเลกุลเล็กหรือสารปฏิชีวนะ (antibiotic) ที่สรางโดยจุลินทรียชนิดหนึ่งทีมีผล
โดยตรงกับจุลินทรียอีกชนิดหนึ่ง (Lo 1998; Pal and Gardener 2006) ภาวะยับยั้งเกิดไดเมื่ออยูใน
ภาวะกดดัน เชน ขาดแคลนสารอาหาร ขาดกาซออกซิเจน การตองการพื้นที่ในการเจริญ โดย
จุลินทรียจะผลิตสารปลดปลอยออกมานอกเซลลและแพรกระจายสูสิ่งแวดลอมโดยรอบ สงผลตอ
ประชากรจุลินทรียชนิดอื่น ๆ สารที่จุลินทรียแตละชนิดผลิตมีฤทธิ์และมีความจำเพาะในการทำลาย
แตกตางกัน สารที่จุลินทรียสรางขึ้น เชน เอนไซมที่หลั่งออกมานอกเซลล (secreated enzyme)
สารประกอบอินทรียระเหยงาย (volatile organic compounds; VOCs) สารพิษคิลเลอร (killer toxin)
สารปฏิชีวนะ (antibiotic)
เอนไซมที่หลั่งออกมานอกเซลล การผลิตและหลั่งเอนไซมออกมายอยสลาย
องคประกอบของเซลลเปนลักษณะทั่วไปของปฏิสัมพันธระหวางพืชใหอาศัยกับเชื้อกอโรคและ
มีการศึกษากันมาก ปกติเอนไซมดังกลาวเพิ่มขึ้นในภาวะที่มีสารอาหารนอย เชน ในภาวะที่มี
แหลงคารบอนและแหลงไนโตรเจนนอย ทำหนาที่ชวยหาสารอาหารที่จะปลอยออกมาจากเซลลพืช
นำไปสูการฆาเซลลพืชเหลานี้ เชน กรณีของไมโคพาราซิทิซึม (mycoparasitism) การหลั่งเอนไซม
เชน ไคทิเนส (chitinase) กลูคาเนส (glucanase) โปรทีเอส (protease) จึงมักมีรายงานและเนนในยีสต
ปฏิปกษ และเกี่ยวของกับการควบคุมทางชีวภาพ (Freimoser et al. 2019) เอนไซม
ยอยผนังเซลล (cell wall-degrading enzymes) ซึ่งยอยผนังเซลลสงผลใหเซลลแตก ดังนั้นจึงอาจ
เรียกวาไลติกเอนไซม (lytic enzyme) เอนไซมยอยผนังเซลลมักผลิตในสิ่งแวดลอมโดยจุลินทรีย
ระหวางการสลายตัวของสารอินทรียที่มาจากเนื้อเยื่อพืชและเซลลจุลิทรียและเสนใยราที่ตายแลว มี
บทบาทสำคัญอยางตอเนื่องในวงจรสารอาหารในทุกระบบนิเวศน (Köhl et al. 2019) ผนังเซลลของ
ราประกอบดวยพอลิเมอรหลายชนิด ไดแก กลูแคน (glucan) ประมาณ 50-60 เปอรเซ็นต และ
42 กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย