Page 54 -
P. 54

ิ
                                    ิ
                                             ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                ์
                                                                   ิ
                                 ื

                โรคของ Botrytis cinerea, Colletotrichum acutatum, Penicillium expansum, Penicillium digitatum

                และ Penicillium italicum ทั้งในจานเพาะเชื้อและในพืช (Di Francesco et al. 2016), Candida

                intermedia C410 ผลิต VOCs ไดแก 1,3,5,7-ไซโคลออกเทตทราอีน (1,3,5,7-cyclooctatetraene)

                และ 3-เมทิล-1-บิวทานอล ซึ่งยับยั้งการเจริญของรา B. cinerea บนผลสตรอเบอรีโดยไมตอง

                สัมผัสกับรา (Huang et al. 2011), Candida maltosa NP9 ผลิตสารประกอบอินทรียระเหยงาย

                ประกอบดวย ไอโซเอมิลแอลกอฮอล (isoamyl alcohol) ไอโซเอมิลแอซิเทต (isoamyl acetate) และ

                ฟเนทิลแอลกอฮอล (phenethyl alcohol) ซึ่งยับยั้งการงอกของสปอรของรา Aspergillus brasiliensis             บทที่ 2

                (Ando et al. 2012) Candida sake ผลิตสารประกอบอินทรียระเหยงายลดการเกิดโรคเนาของ

                ผลแอปเปล (apple rot) ซึ่งเกิดจากรา P. expansum และ B. cinerea (Arrarte et al. 2017)

                Sporidiobolus pararoseus YCXT3 ที่มีความสามารถควบคุมรา B. cinerea ซึ่งเปนสาเหตุโรคราสีเทา

                ของสตรอเบอรี (strawberry gray mold disease) พบวาการควบคุมขึ้นอยูกับการผลิต 2-เอทิล-1-

                เฮกซานอล (2-ethyl-1-hexanol) ที่มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งทั้งการงอกสปอรและการเจริญ

                ของเสนใยของรา B. cinerea การที่ Sp. pararoseus ยับยั้งการงอกของสปอรของและการเจริญของ

                เสนใย B. cinerea เกิดจากสารประกอบอินทรียระเหยงายที่ยีสตสรางที่มีองคประกอบหลักเปน

                1,3,5,7-ไซโคลอ็อก-เทตทราอีน 3-เมทิล-1-บิวทานอล, 2-โนนานอน (2-nonanone) และฟนีทิล-

                แอลกอฮอล (Huang et al. 2011) กิจกรรมการควบคุมทางชีวภาพของยีสต เชน W. anomalus, M.

                pulcherrima, S. cerevisiae, A. pullulans ตอ B. cinerea ในจานเพาะเชื้อและในผลองุนสวนใหญ

                ขึ้นกับการผลิตสารประกอบอินทรียระเหยงาย (Parafati et al. 2015) นอกจากนั้นพบสารประกอบ

                อินทรียระเหยงาย 20 ชนิด ในยีสตสายพันธุที่คัดเลือกสำหรับการควบคุมทางชีวภาพ คือ

                Cyberlindnera jadinii, Candida friedrichii, C. intermedia และ Lachancea thermotolerans แต

                สารประกอบอินทรียระเหยงายที่มีปริมาณมากที่สุดและมีหนาที่สำหรับการยับยั้งการเจริญของเสน

                ใยและการผลิตสารพิษโอคราท็อกซินเอ (ochratoxin A) ของ Aspergillus carbonarius และ

                Aspergillus ochraceus  คือ 2-ฟนิวเอทานอล (2-phenylethanol) (Farbo et al. 2018; Fiori et al.

                2014; Tilocca et al. 2019)  สวน W. anomalus 7 สายพันธุ ซึ่งมีกิจกรรมการเปนปฏิปกษตอ คือ C.

                lunata ซึ่งเปนสาเหตุของโรคเมล็ดดางของขาว Fusarium moniliforme 3 สายพันธุ สาเหตุโรค

                ถอดฝกดาบ (bakanae disease) ของขาว โรคลำตนเนา (stalk rot disease) ของขาวโพด และ

                โรคเนาแดง (red rot disease) ของออย สวน Kodamae ohmeri 7 สายพันธุ ยับยั้งการเจริญของ

                F. moniliforme สายพันธุ ที่เปนสาเหตุโรคถอดฝกดาบ จากการวิเคราะหกลไลการเปนปฏิปกษ

                พบวา W. anomalus ยับยั้งการเจริญของราโดยการสรางสารประกอบอินทรียระเหยงาย ซึ่งสวน

                ใหญเปน 3-เมทิล-1-บิวทิลแอซีเทต (3-methyl-1-butyl acetate) และ 3-เมทิล-1-บิวทานอล และ




                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      45
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59