Page 50 -
P. 50

ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                             ิ
                                 ื
                                                ์
                                                                   ิ
                                                                              ิ

                   2             กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษ




                                      และการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย


                                                                                              สาวิตรี  ลิ่มทอง





                          ความเขาใจกลไลการควบคุมทางชีวภาพเปนสิ่งจำเปนที่จะทำใหประสพความสำเร็จใน                      บทที่ 2
                การพัฒนาและการใชจุลินทรียเปนตัวควบคุมทางชีวภาพ นอกจากนั้นยังชวยทำใหรูถึงความเสี่ยง


                และอันตรายของตัวควบคุมทางชีวภาพที่อาจเกิดแกมนุษยและสิ่งแวดลอมและความเสี่ยงที่จะเกิด
                ความตานทานตอตัวควบคุมทางชีวภาพรวมทั้งชวยในการคัดเลือกจุลินทรียปฏิปกษชนิดใหม กลไก

                การเปนปฏิปกษของสิ่งมีชีวิตแบงเปน 2 แบบ ไดแก การเปนปฏิปกษโดยตรง (direct antagonism)

                                                                                                                ุ
                และการเปนปฏิปกษทางออม (indirect antagonism) การเปนปฏิปกษโดยตรงเปนผลจากตัวควบคม
                ทางชีวภาพหรือสารทุติยภูมิของตัวควบคุมทางชีวภาพสัมผัสและทำลายเชื้อกอโรคโดยตรงหรือโดย

                การเปลี่ยนแปลงภาวะสำหรับเชื้อกอโรคหรือทั้ง 2 อยาง การเปนปฏิปกษโดยตรงอาจเกิดจากการใช          

                ประโยชนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งเปนอาหารโดยสิ่งมีชีวิตอื่น หรือทำลายองคประกอบเซลลของ

                เชื้อกอโรคเปนผลใหเกิดการยับยั้งการเจริญหรือฆาเชื้อกอโรค เชน การที่ยีสตสามารถแทงผาน

                เสนใยรากอโรค การผลิตสารตาง ๆ ที่มีฤทธิ์ยับยั้งหรือทำลายโครงสรางหรือฆาเชื้อกอโรคเปาหมาย

                เชน การผลิตสารปฏิชีวนะ เอนไซมตาง ๆ ตลอดจนสารระเหย การสงสัญญาณโมเลกุลรบกวน

                การสื่อสารระหวางเซลลของเชื้อกอโรค สวนกลไกการเปนปฏิปกษโดยทางออม เปนผลจากกิจกรรม

                ที่ไมเกี่ยวของกับการที่ตัวควบคุมทางชีวภาพไปยับยั้งหรือกำจัดเชื้อกอโรค แตเกิดจากการที่

                ตัวควบคุมทางชีวภาพกระตุนการเติบโตและปองกันตัวเองของพืช เชน การตรึงธาตุอาหารใหพืช

                การยอยสลายธาตุอาหารเพื่อใหพืชนำไปใชได การชักนำพืชใหมีความตานทานโรค มีผลทำใหพืชมี

                ความแข็งแรงทนทานและตานทานโรค จากรายงานการศึกษาวิจัยจำนวนมากแสดงวาจุลินทรีย

                ปฏิปกษ (antagonistic microorganism, microbial antagonist) ชนิดหนึ่งมีกลไกการเปนปฏิปกษได

                หลายกลไก และการแสดงออกของกลไกตาง ๆ จะขึ้นอยูกับสิ่งกระตุนที่จุลินทรียปฏิปกษนั้นไดรับ

                (Freimoser et al. 2019; Köhl et al. 2019; Pal and Gardener 2006; Wisniewski and Droby 2012)

                          สำหรับยีสตที่ใชในการควบคุมทางชีวภาพจากการศึกษาจนถึงปจจุบันพบวามีหลายกลไก

                ที่เกี่ยวกับการเปนปฏิปกษ เชน การสรางและปลดปลอยเอนไซม การสรางสารอินทรียระเหยงาย

                การสรางสารพิษ การแขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที่ การเปนปรสิต (mycoparasitism)







                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      41
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55