Page 52 -
P. 52
ิ
ื
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ไคทิน (chitin) ประมาณ 20 เปอรเซ็นต นอกจากนั้นยังพบโปรตีน และเซลลูโลส (cellulose) สำหรับ
ยีสตที่ใชควบคุมทางชีวภาพ มีรายงานการสรางเอนไซม เชน ไคทิเนส กลูคาเนส โปรทีเอส การสราง
ี
ไคทิเนสพบในยีสตที่ใชควบคุมทางชวภาพหลายสกุล เชน Debaryomyces hansenii, Metschnikowia
fructicola, Metschnikowia pulcherrima, Meyerozyma guillermondii, Ogataea methanolica,
Saccharomyces cerevisiae, Saccharomycopsis schoenii, Wickerhamomyces anomalus, Wickerha-
momyces saturnus, Torulaspora delbrueckii (Banani et al. 2015; Freimoser et al. 2019; Junker
et al. 2019; Lopes et al. 2015; Pretscher et al. 2018; Zajc et al. 2019) นอกจากนั้น บทที่ 2
ไคทิเนสนาจะสงผลเชนกันในกิจกรรมการควบคุมทางชีวภาพทางออม เพราะมีรายงานวา ไคโท-
โอลิโกแซกคาไรด (chito-oligosaccharide) หลายชนิดที่ไดจากการสลายไคทินเปนตัวเหนี่ยวนำที่มี
ศักยภาพในสรางภูมิคุมกันของพืชทำใหพืชตานทานเชื้อกอโรคเพิ่มขึ้น (Freimoser et al. 2019;
Langner and Gohre 2015)
สวนเอ็กโซกลูคาเนส (exoglucanases) เชน บีตา-1, 3-กลูคาเนส (beta-1, 3-glucanase)
มีผลทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของผนังเซลล (cell wall modification) มีการยึดเกาะของเซลล (cell
adhesion) และมีความตานทานตอสารพิษคิลเลอร (killer toxin resistance) (Freimoser et al. 2019;
Xu et al. 2013) ยีสตปฏิปกษหลายสปชีสในหลายสกุลซึ่งมีศักภาพในการควบคุมทางชีวภาพ
รากอโรคพืช สามารถหลั่งกลูคาเนสออกมานอกเซลลยอยกลูแคนที่ผนังเซลลของรา สงผลใหเซลล
และเสนใยของราถูกทำลายโดยตรง (Banani et al. 2014; Spadaro and Droby 2016) ยีสตปฏิปกษที่
มีรายงานวาสรางเอนไซมกลูคาเนส เชน M. pulcherrima, Meyerozyma caribbica, Meyerozyma
guilliermondii, O.methanolica, Pichia membranifaciens, W. anomalus, S. cerevisiae, Sac. schoenii
(Bautista-Rosales et al. 2013; Chanchaichaovivat et al. 2008; Chan and Tian 2005; Junker et
al. 2019; Lopes et al. 2015; Parafati et al. 2017a; Pretscher et al. 2018; Zhang et al. 2011) จาก
การวิจัยยีสตปฏิปกษที่แยกจากเนื้อเยื่อพืชเศษฐกิจ ขาว ขาวโพด และออย พบวา W. anomalus 7
สายพันธุ ที่แยกจากเนื้อเยื่อพืช มีกิจกรรมการเปนปฏิปกษตอ Curvularia lunata ซึ่งเปนสาเหตุของ
โรคเมล็ดดางของขาว Fusarium moniliforme 3 สายพันธุ ซึ่งเปนสาเหตุโรคถอดฝกดาบ (bakanae
disease) ของขาว โรคลำตนเนา (stalk rot disease) ของขาวโพด และโรคเนาแดง (red rot
disease) ของออย และ Kodamae ohmeri 4 สายพันธุ ซึ่งแยกจากเนื้อเยื่อพืช สามารถยับยั้ง
การเจริญของ F. moniliforme สายพันธุที่เปนสาเหตุโรคถอดฝกดาบ มีการสรางบีตา-1,3-กลูคาเนส
และไคทิเนส เปนกลไกการเปนปฏิปกษรวมกับกลไกอื่น (Khunnamwong et al. 2020) การสราง
เอนไซมสลายผนังเซลลของรา คือ บีตา-กลูคาเนส และไคทิเนส คาดวาเปนกลไกการเปนปฏิปกษ
หนึ่งของยีสต Torulaspora indica DMKU-RP31, T. indica DMKU-RP35 และ W. anomalus DMKU-
การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม 43