Page 29 -
P. 29

ิ
                                                              ิ
                                                    ิ
                                 ิ
                                    ์
                      ื
         โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                            ี
                                                                   ธุรกิจโรงสข้าว...
                                                                           ่
                                                       การปรับตัวบนกระแสการเปลียนผ่าน
              ขนาดกลางได้ลดลงจากจ�านวน 823 แห่ง เหลือเพียง 387 แห่ง ในช่วงเวลาเดียวกัน อย่างไร
                                ึ
                             ี
                                                    ั
                                                                           �
                                   �
                                       �
              ก็ตามการแข่งขันท่สูงข้นทาให้จานวนโรงสีข้าวท้งหมดในภาพรวมลดลงจากจานวน 1,694
              แห่ง ในปี 2543 เหลือเพียง 1,535 แห่ง ในปี 2551 แต่ในด้านก�าลังการผลิตของโรงสีข้าวกลับ
              พบว่าได้เพิ่มจาก 25.84 ล้านตันต่อปี ในปี พ.ศ. 2543 มาเป็น 67.47 ล้านตันต่อปี ในปี พ.ศ.
              2551 จากก�าลังการผลิตที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นดังกล่าวท�าให้โรงสีข้าวต้องแข่งขันกันในการเก็บ
                                   ื
                                                    �
              สต็อกอุปทานข้าวเปลือกเพ่อไว้รอการสี เพราะกาลังการผลิตในระบบของธุรกิจโรงสีข้าวในปี
              2551 มีสูงกว่าผลผลิตข้าวเปลือกที่เป็นวัตถุดิบส�าหรับการสีแปรรูปซึ่งมีจ�านวน 32.00 ล้านตัน
              สูงถึงกว่าหนึ่งเท่าตัวของผลผลิต


                    นอกจากน้การเปล่ยนแปลงในนโยบายของรัฐโดยเฉพาะนโยบายการแทรกแซงสินค้าข้าว
                            ี
                                  ี
                     ี
                                   �
                                     �
              จากเดิมท่เป็นโครงการรับจานาข้าวเปลือกในระดับราคาท่ใกล้เคียงกับตลาดและให้โรงสีข้าวเป็น
                                                          ี
                        �
                      �
              แหล่งรับจานาใบประทวนข้าวเปลือกแทนหน่วยงานของรัฐและโรงสีข้าวได้ค่าจ้างในการรับฝาก
              ข้าว มาเป็นโครงการรับจ�าน�าข้าวเปลือกทุกเมล็ดในระดับราคาสูงกว่าตลาดร้อยละ 50 ในช่วง
                                       �
              ปี 2554 - 2557 โครงการรับจานาข้าวเปลือกทุกเมล็ดในระดับราคาสูงดังกล่าว นอกจากจะ
                                         �
              ทาให้รัฐเป็นผู้รับซ้อข้าวเปลือกรายใหญ่และสร้างอานาจการผูกขาดในตลาดข้าวเปลือกและ
                            ื
                                                      �
               �
                                                                �
                                                                      ื
              ตลาดข้าวสารส่งออกแล้ว ในขณะเดียวกันนโยบายดังกล่าวยังได้กาหนดเง่อนไขไว้ว่าข้าวเปลือก
                                                                              �
                     �
               ี
                       �
                                                                                     ึ
                                                                   �
              ท่ได้รับจานาไว้ต้องแปรรูปสีเป็นข้าวสารก่อนการจัดเก็บเข้าสต็อก ทาให้โรงสีข้าวจานวนหน่ง
               ั
              ท้งขนาดกลางและขนาดใหญ่ได้เข้าร่วมโครงการรับฝากและสีข้าวเปลือกเป็นข้าวสารให้กับ
              รัฐภายใต้โครงการรับจ�าน�าทุกเมล็ดในระดับราคาสูง พร้อม ๆ กับการเป็นผู้รับจ้างฝากข้าวที่ได้
              รับการสีไว้แล้วรอการท่รัฐจะนาออกไปจาหน่ายต่อไป ปัจจัยจากนโยบายของภาครัฐเก่ยวกับ
                                             �
                                      �
                                                                                 ี
                                ี
                                                         ี
                                             ื
              การแทรกแซงกลไกตลาดดังกล่าวได้เอ้อให้โรงสีข้าวท่เข้าร่วมโครงการจานวนไม่น้อยได้รับ
                                                                       �
              ประโยชน์ตอบแทนที่เป็นตัวเงินในรูปค่าจ้างและค่าเช่าจากภาครัฐอย่างมาก เพราะในช่วงเวลา
              ดังกล่าว (สิงหาคม พ.ศ. 2554 - กรกฎาคม 2557) มีปริมาณผลผลิตข้าวที่รัฐรับซื้อไว้ใน 5 ฤดู
                                                                           �
                               ึ
                         �
                                           ั
                                                                                ึ
                                                  ื
              การผลตรวมจานวนถง 54.40 ล้านตนข้าวเปลอก และใช้เงนในโครงการเป็นจานวนถง 9.85
                                                            ิ
                   ิ
              แสนล้านบาท (อัมมาร์ สยามวาลา และคณะ, 2557) รายได้จากการท�าธุรกิจของโรงสีข้าวขนาด
              ใหญ่ในช่วงเวลาดังกล่าวจึงสูงตามยอดเงินการใช้จ่ายของรัฐตามมาด้วย ในช่วงปี พ.ศ. 2554 -
                                   �
                                                                              �
              2557 จึงนับได้ว่าเป็นยุคทามาค้าขึ้นของโรงสีข้าวและได้รับผลประโยชน์จากการทาธุรกิจกับ
              ภาครัฐเป็นอย่างมาก
                                                              ณัฐพล  พจนาประเสริฐ และคณะ  27
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34