Page 27 -
P. 27

ิ
                                    ์
                                                              ิ
                      ื
                         ิ
                                                    ิ
         โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                            ี
                                                                   ธุรกิจโรงสข้าว...
                                                       การปรับตัวบนกระแสการเปลียนผ่าน
                                                                           ่
              และ กข 15 เป็นข้าวพื้นนุ่มและมีกลิ่นหอม อุปทานผลผลิต ข้าวขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15
                                                 �
              จะมีโรงสีข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทาธุรกิจในการสต็อกข้าวและสีข้าวพันธุ์ดังกล่าว
                                                           ื
                  �
              เป็นสาคัญ ส่วนโรงสีข้าวขนาดใหญ่ในภาคกลางจะไปรับซ้อข้าวเปลือกขาวดอกมะลิ 105 ใน
                                     ื
              ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพ่อมาสต็อกไว้และทะยอยสีส่งให้ตลาดข้าวสารในประเทศและ
              ตลาดส่งออก ด้วยเช่นกัน


                    จากข้อมูลของกรมการค้าภายในกระทรวงพาณิชย์ ได้แบ่งขนาดธุรกิจของโรงสีข้าว
              ออกเป็น 3 ขนาด ได้แก่โรงสีข้าวขนาดเล็กมีก�าลังการผลิตระหว่าง 5 - 60 ตัน/วัน โรงสีข้าว

                         �
                           ั
                                                             ั
                                                ่
                                                                      ี
                        ี
                                         ่
                                     ู
                                     ่
              ขนาดกลางมกาลงการผลตอยระหวางมากกวา 60 - 300 ตน/วน และโรงสขาวขนาดใหญมกาลัง
                                 ิ
                                                          ั
                                                                                   �
                                                                       ้
                                                                                 ่
                                                                                  ี
              การผลิตอยู่ระหว่างมากกว่า 300 ตัน/วันขึ้นไป ซึ่งจากการศึกษาของ มาฆะสิริ เชาวกุล (2554)
                                                                �
              ซ่งใช้ข้อมูลจากกรมการค้าภายในกระทรวงพาณิชย์ได้รายงานถึงกาลังการผลิตและการปรับตัว
               ึ
              ของโรงสีข้าวขนาดกลางไปเป็นโรงสีข้าวขนาดใหญ่ โดยพบว่าจากทะเบียนการค้าในปี 2543
                                                                 �
                �
              มีจานวนโรงสีข้าวขนาดกลางและขนาดใหญ่รวมกันท้งประเทศจานวน 1,694 โรง มีกาลัง
                                                                                   �
                                                        ั
                                                   ่
                                                                             ี
                                                                              �
                                      ั
                                                   ี
                                                                       ั
              การผลตโดยรวม 28.58 ล้านตนต่อปี ในขณะทผลผลตข้าวของไทยในปีดงกล่าวมจานวนรวม
                                                        ิ
                   ิ
                                              �
                                                                         ั
                            ึ
              25.84 ล้านต้น ซ่งมีความใกล้เคียงกับกาลังการผลิตของโรงสีข้าวในขณะน้น โรงสีข้าวจึงม  ี
               �
              อานาจทางการตลาดเหนือกว่าชาวนาในตลาดข้าวเปลือก สาหรับโรงสีข้าวขนาดเล็กไม่พบข้อมูล
                                                           �
               �
              จานวนและการกระจายของโรงสีข้าวขนาดเล็กในชุมชนชนบท แต่จากรายงานของ อรวรรณ
              และคณะ (2557) ได้พบว่าหลังจากปี 2536 ได้มีการก่อสร้างโรงสีข้าวสหกรณ์การเกษตรซึ่งเป็น
              โรงสีข้าวขนาดเล็กในแหล่งปลูกข้าวที่ส�าคัญเพิ่มขึ้น โดยจะรับซื้อเฉพาะข้าวขาวดอกมะลิ 105
               ั
                        ั
              ช้น 1 และช้น 2  เพ่อแปรรูปข้าวเปลือกเป็นข้าวสารส่งขายให้กับพ่อค้าคนกลางและสหกรณ์
                               ื
                           6
              เครือข่ายในประเทศ รวมท้งมีการพัฒนาตลาดข้าวหอมมะลิอินทรีย์ซ่งใช้ข้าวหอมมะลิจาก
                                                                     ึ
                                    ั
                       ี
              เกษตรกรท่เป็นสมาชิก ทาในรูปแบบเกษตรพันธะสัญญาโดยสหกรณ์การเกษตรจะช่วยเหลือท้ง ั
                                 �
                                                                               ื
              ในด้านเงินทุนปัจจัยการผลิตถ่ายทอดความรู้และสนับสนุนเงินทุนค่าตรวจแปลงเพ่อรับรอง
              มาตรฐาน จึงทาให้ในช่วงน้โรงสีข้าวขนาดเล็กในรูปของโรงสีข้าวสหกรณ์มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว
                         �
                                  ี
              โดยในปี 2545 มีจ�านวนรวมกันถึง 134 แห่ง และส่วนใหญ่กระจายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียง
              เหนือ (สมพร อิศวิลานนท์, 2547) 7
              6   ข้าวเหนียวและข้าวชนิดอ่นจะซ้อมาขายไปเท่าน้นไม่แปรรูป
                              ื
                                           ั
                                  ื
                                                     ื
                                         �
              7   ช่องทางการกระจายข้าวเปลือก เอกสารวิจัยนาเสนอต่อธนาคารเพ่อการเกษตรและสหกรณ์ โดยศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์
                มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                              ณัฐพล  พจนาประเสริฐ และคณะ  25
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32