Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
ิ
ั
์
ิ
ิ
ิ
ื
75
แสดงให:เห็นวEาผลลัพธQของความสัมพันธQที่เปUนอยูEมีคะแนนสูงเกินกวEาระดับการเปรียบเทียบหรือความคาดหวังของแปง
©
Q
เธอจึงมีความพึงพอใจตEอความสัมพันธQ สEวนทางเลือกอื่น เชEน การอยูEคนเดียว หรือความสัมพันธกับเพื่อนคนอื่น หากแปง ©
ประเมินทางเลือกอื่นที่ระดับคะแนน 3 (CLalt) ซึ่งทำนายได:วEาแป©งมีแนวโน:มมากที่จะยังคงรักษาความสัมพันธQกับโบ†ทไว :
ั
ี
เพราะผลลัพธQของความสัมพนธQท่มอยูE (8) มีคEาสูงเกินกวEาความคาดหวัง (6) และสูงกวEาความสัมพนธQของทางเลือกอื่น (3)
ั
ี
เห็นได:วEาคนเรามีการประเมินความสัมพันธQในปiจจุบัน และเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่น ซึ่งมีผลตEอการตัดสินใจรักษาหรอ
ื
ยุติความสัมพันธQ
หลักการดังกลEาวอธิบายได:ดีวEาเพราะเหตุใดบางคนจึงยังคงอดทนอยูEกับความสัมพันธQที่ไมEได:สนองความพึงพอใจ
แกEตัวเองมาก นั่นเปUนเพราะการไมEมีทางเลือกอื่นหรือความรู:สึกกลัวที่จะต:องอยูEคนเดียว ดังนั้น จึงตัดสินใจที่จะยังคงอย ูE
กับความสัมพันธQที่ให:ผลลัพธQที่ไมEนEาพอใจมาก เชEน ภรรยาที่ทนกับความสัมพันธQที่ถูกสามควบคุม เหยียดหยาม ทำร:าย
ี
หรือใช:ความรุนแรง (Abusive relationship) ผู:บริหารในองคQการใช:การประเมินเปรียบเทียบนี้เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการ
ปลดพนักงาน
โดยการผสมผสาน CL กับ CLalt ทำให:เกิดผลลัพธQที่เปUนไปได: 4 แบบ ถ:าคูEรักตอบสนองความคาดหวังสำหรบ
ั
ั้
ความสัมพันธQ (CL มีสูง) และไมEได:มีทางเลือกความสัมพันธQอื่น (CLalt ต่ำ) บุคคลจะมีความพึงพอใจตEอความสัมพันธQนน
ั
และไมEยุติความสัมพันธQ ตรงข:ามกัน ถ:าบุคคลพึงพอใจตEอคูEสัมพันธQน:อยลงเพราะเขาหรือเธอไมEเปUนไปตามความคาดหวง
(CL ต่ำ) และรับรู:ถึงทางเลือกอื่น (Clalt สูง) บุคคลมีแนวโน:มที่จะหาโอกาสในการยุติความสัมพันธQ
ผลลัพธQ 2 แบบข:างต:นเปUนผลลัพธQที่เห็นชัดและตรงไปตรงมา แตEถ:าเปUนสถานการณที่ซับซ:อนมากกวEานี้ เชEน คน
Q
ื
ื
ู
ื
ั
Q
ึ
ี
E
ที่มความสุขกับกับคูEรกหรอแฟน แตEเลือกที่จะนอกใจหรอทอดทิ้งเพื่อไปหาคนอ่น หรอคนที่ร:สกทุกขกบการแตงงาน แตยง ั
ื
ั
E
ปฏิเสธที่จะแยกหรือหยEาร:าง ทำไมบางคนจึงรักษาความสัมพันธQที่ดูเหมือนวEาจะมีต:นทุนสูง บางคนอาจมีคูEสัมพันธQท ี่
ตอบสนองหรือเกินกวEาความคาดหวัง (CL สูง) แตEเนื่องจากได:รับรู:ถึงทางเลือกอื่นที่มากกวEา (CLalt สูง) ก็อาจเลือกจบ
ความสัมพันธQที่นEาพึงพอใจ ในทางกลับกัน บุคคลที่ไมEพอใจกับความสัมพันธQที่เปUนอยูE (CL ต่ำ) อาจเชื่อวEาตัวเองไมEม ี
ทางเลือกความสัมพันธQอื่น (CLalt ต่ำ) ดังนั้น จึงยังคงรักษาความสัมพันธQที่ไมEนEาพอใจนั้นไว:อยูE ผลลัพธQแบบนี้ชEวยอธิบาย
เหตุผลได:ดีวEาทำไมคนบางคนจึงยังคงอยูEกับความสัมพันธQที่ถูกทำร:ายทางกายและจิตใจ
ทฤษฎีการประมวลข,อมูลทางสังคม (Social Information Processing)
Josehp Walther พัฒนาทฤษฎีการประมวลข:อมูลทางสังคม (Social Information Processing - SIP) ขึ้นในป Å
ค.ศ.1992 โดยพัฒนาจากทฤษฎีตEาง ๆ เกี่ยวกับความสัมพันธQ เชEน ทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธQทางสังคม (Social
Penetration Theory) ทฤษฎีการลดความไมEแนEใจ (Uncertainty Theory) ซึ่งทฤษฎีการประมวลข:อมูลทางสังคมอธิบาย
ถึงการพัฒนาความสัมพันธQระหวEางบุคคลแบบใกล:ชิดสนิทสนมผEานเทคโนโลยีการสื่อสารที่ได:รับความนิยมในต:นทศวรรษ
1990 ได:แกE การสื่อสารผEานสื่อคอมพิวเตอรQ (Computer- Mediated communication) เชEน อีเมลQ หลังจากนน
ั้
เทคโนโลยีพัฒนาอยEางรวดเร็ว ทฤษฎีการประมวลข:อมูลทางสังคมยังเปUนทฤษฎีที่ชEวยอธิบายเหตุผลและวิธีการสร:าง
Q
ความสัมพันธทางสื่อออนไลนQ (Griffin et al., 2015) ความสัมพันธQใกล:ชิดและสายสัมพันธQแบบแนEนแฟ©นพัฒนาขึ้นได:จาก