Page 78 -
P. 78
ั
ื
ุ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ิ
ิ
ิ
์
72
โดยสรุป ความสัมพันธระหวEางบุคคลขึ้นอยูEกับการประเมินรางวัลที่ได:รับและต:นทุนทต:องสูญเสีย ถ:าทั้งสองฝèาย
ี่
Q
คิดวEาได:รับรางวัลมากกวEาต:นทุน จะทำให:ความสัมพันธQพัฒนาและอยูEรอดได: ในทางตรงกันข:าม ความสัมพันธQจะสิ้นสุดลง
ถ:าตEางฝèายรับรู:ถึงต:นทุนมากกวEารางวัลที่ได:รับ อยEางไรก็ตาม คูEสัมพันธQอาจมองเรื่องเดียวกันในมุมมองที่ตEางกันได: ฝèาย
หนึ่งอาจมองเรื่องหนึ่งเปUนต:นทุน ในขณะที่อีกฝèายกลับมองเปUนรางวัลได:
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคม (Social Exchange Theory)
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมพัฒนามาจากสาขาวิชาตEาง ๆ อาทิ จิตวิทยา จิตวิทยาสังคม สังคมวิทยา ม ี
แนวคิดหลัก คือ การรับรู:ถึงผลประโยชนQตEอตนเอง (Self-interest) เปUนปiจจัยสEงเสริมการพัฒนาความสัมพันธQระหวEาง
บุคคล ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมสะท:อนแนวคิดเชิงเศรษฐศาสตรQตEอความสัมพันธQของบุคคล กลEาวคือ บุคคล
ุ
ต:องการรักษาความสัมพันธQที่ให:ผลประโยชนQหรือรางวัล (Reward) มากกวEาต:นทุน (Cost) ที่ต:องจEาย รางวัลและต:นทน
E
ิ
ุ
E
ั
ั
ั
Q
ั
ุ
ื
ึ
ุ
E
Q
เปนสงทอธบายเหตผลวาทำไมเราจงพฒนา รกษา หรอจบความสมพนธ คณคาของความสมพนธระหวางบคคลถกประเมน
ิ
ู
ั
่
่
ี
ั
U
ิ
ในแงEของต:นทุนและรางวัลที่ได:รับ
ธรรมชาติของมนุษย@และความสัมพันธ@ระหวsางบุคคล
Thibaut และ Kelly อธิบายถึงธรรมชาติของมนุษยQและความสัมพันธQระหวEางบุคคล ซึ่งเปUนแนวคิดพื้นฐานใน
การเข:าใจเรื่องการแลกเปลี่ยนทางสังคมและการพัฒนาความสัมพันธQระหวEางบุคคล ธรรมชาติของมนุษยQมีลักษณะ ดังนี้
(1) มนุษย@ถูกกระตุ,นจากผลประโยชน@ของตนเอง (Self-interest) มนุษยQถูกผลักดันให:ดำเนินกิจกรรมและ
พัฒนาความสัมพันธQที่ให:ประโยชนQ แรงจูงใจ (motivation) คือ สิ่งที่กระตุ:นจูงใจให:บุคคลมีการกระทำ การเข:าใจ
ผลประโยชนQหรือคEานิยมของบุคคลแล:วจะชEวยให:เข:าใจและทำนายพฤติกรรมบุคคลได: เพราะผลประโยชนQและคEานิยมให :
แรงจูงใจแกEบุคคลในการกระทำอยEางใดอยEางหนึ่ง ซึ่งทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมอธิบายวEาบุคคลแสวงหากิจกรรมและ
ความสัมพันธQที่เห็นวEาให:ประโยชนQตEอตนเอง
(2) มนุษย@มีเหตุผล มนุษยQใช:ตรรกะและเหตุผลในการตัดสินใจกระทำบนพื้นฐานของหลัก “ประโยชนQนิยม”
(Utilitarianism) โดยการใช:เหตผลในการชั่งนำหนกระหวEางรางวัล (rewards) และต:นทุน (costs) ของการกระทำ มนุษย Q
ุ
ั
้
มีกระบวนการทางตรรกะในการคำนวณรางวัลและต:นทุนของสถานการณQหนึ่งภายใต:ข:อมูลที่มีอยูE และนำไปสูEการแสดง
พฤติกรรม ในกรณีที่ไมEมีทางเลือกที่ให:รางวัลเลย บุคคลจะเลือกทางที่มีต:นทุนน:อยสุด ความตึงเครียดอาจเปUนต:นทุนท ี่
นำไปสูEการยุติความสัมพันธQระหวEางบุคคลได:
(3) มนุษย@แสวงหารางวัลและหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ การแสวงหารางวัลและการหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษม ี
ความสอดคล:องกับแนวคิดเรื่องการลดแรงขับภายในของบุคคล กลไกแรงขับภายในเปUนตัวกระตุ:นให:บุคคลมีพฤติกรรม
เพื่อลดแรงขับนั้น เชEน เมื่อกอลQฟรู:สึกกระหายน้ำ เขาถูกกระตุ:นให:ดื่มน้ำเพื่อลดความรู:สึกกระหาย ซึ่งเปUนการให:รางวัล