Page 80 -
P. 80
ุ
ิ
์
ิ
ั
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ิ
ิ
74
คูEพบกับคนอื่นที่มหาวิทยาลัยและพัฒนาความสัมพันธQกับเพื่อนใหมE ลัดดาอาจชั่งน้ำหนักระหวEางรางวัลในเรื่องความรก
ั
ความไว:ใจ กับคEาใช:จEายที่มาจากความสัมพันธQระยะไกลเพื่อตัดสินผลลัพธQของการคบหาและรักษาความสัมพันธQกับวิชัย
Thibaut and Kelly อธิบายวEาการประเมินคุณคEาของความสัมพันธQ ความพึงพอใจและเสถียรภาพของ
ความสัมพันธQเพื่อตัดสินวEาจะรักษาหรือยุติความสัมพันธQอาศัยการเปรียบเทียบความสัมพันธQ 2 ประเภท ได:แกE
ึ
(1) ระดับการเปรียบเทียบ (Comparison level - CL) เปUนมาตรฐานแสดงสิ่งที่คนรู:สกถึงรางวัลหรือต:นทุนท ี่
Q
:
U
ี
ั
ี
ั
ิ
เขาควรไดรับจากความสัมพนธQ ระดบการเปรียบเทยบเปนผลมาจากประสบการณ มตรภาพในอดต คำแนะนำจากสมาชก
ิ
ั
่
Q
ี
่
ี
ิ
ี
ั
่
ั
ั
่
ั
ี
่
:
ิ
ี
็
่
:
ิ
ั
ในครอบครว จากโทรทศนและภาพยนตรทนำเสนอเกยวกบมตรภาพทใหขอคดเหนเกยวกบสงทคาดหวงจากความสมพนธ Q
Q
ั
ระดับการเปรียบเทียบเปUนอัตวิสัย (Subjective) ที่แตกตEางกันไปตามการรับรู:ของบุคคล ประสบการณQในอดีตกบ
ั
ความสัมพันธQมีอิทธิพลตEอการเปรียบเทียบ ประสบการณQที่แตกตEางกันเกี่ยวกับความสัมพันธQทำให:บุคคลพัฒนาระดับการ
เปรียบเทียบแตกตEางกันด:วย เนื่องจากคนเรามักมีปฏิสัมพันธQกับบุคคลจากวัฒนธรรมเดียวกัน จึงมักมีความคาดหวังจาก
ื่
ความสัมพันธQรEวมกันเนื่องจากสารที่ได:รับจากวัฒนธรรม ดังนั้น ความคาดหวังจากความสัมพันธQอาจไมEแตกตEางจากคนอน
E
นัก เชEน เราอาจจะคาดหวังให:เพื่อนสนิทซื่อสัตยQ เอาใจใส และชEวยเหลือเวลาที่เราต:องการ ระดับการเปรียบเทียบ หรอ
ื
CL ทำนายถึงความพึงพอใจที่มีตEอความสัมพันธQ นั่นคือ ความพึงพอใจตEอความสัมพันธQจะเปลี่ยนแปลงเมื่อเพื่อนหรือค ูE
:
สัมพันธQตรงตามความคาดหวังหรือไมE เชEน เราอาจเชื่อวEาเพื่อนควรใสEใจความเปUนอยูE รักษาความลับ และมีการติดตEอ ถา
E
ี้
เพื่อนเริ่มปฏิบัติกับเราแบบไมEให:เกียรติ เราจะรู:สึกพึงพอใจความสัมพันธQน:อยลง ระดับการเปรียบเทียบนมีอิทธิพลตอ
ความพึงพอใจในความสัมพันธQ
(2) ระดับการเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่น (Comparison level for alternatives- CLalt) เปUนการ
ั
U
E
ื
ั
E
เปรยบเทยบความสมพนธQท่มอยEกบทางเลอกของความสมพนธQอ่น ๆ กลาวคอ เราไมเพยงแตตดสนวEาความสมพนธQเปนไป
ั
ิ
E
ี
ี
ั
ี
ั
ั
ื
ั
ื
ี
ี
ู
ั
ื่
ตามความคาดหวังหรือไมE แตEเรายังชั่งน้ำหนักรางวัลและต:นทุนของความสัมพันธQนั้นเมื่อเปรียบเทียบกับความสัมพันธQอน
ื
ู
ุ
i
ั
ั
เชน เรามความพงพอใจกบรมเมทปจจบนหรอไมE หรอเราคิดวEาเราสามารถหารมเมทดีกวEานี้หลังจากที่คEาเชEาสูงขึ้น ทำนอง
ู
E
ี
ึ
ื
เดียวกัน เรามีความสุขกับมิตรภาพจากเพื่อนโรงเรียนเกEาในปiจจุบันหรือไมE หรือเราคิดวEาเรานEาจะถอยหEางจาก
่
ื
ความสัมพันธQนั้น และหาเพื่อนใหมEในมหาวิทยาลัยดีกวEา ทฤษฎีการพึ่งพาอาศัยกันอธิบายวEาเรารักษาความสัมพนธQเมอเรา
ั
เชื่อวEาความสัมพันธQนี้ดีกวEาทางเลือกอื่น เชEน การจบความสัมพันธQ หรือการลงทุนกับความสัมพันธQใหมE
CLalt มีอิทธิพลตEอการที่เราจะยังคงรักษาความสัมพันธQหรือไมE ความพึงพอใจที่มีตEอความสัมพันธQในปiจจุบันมา
E
จากการเปรียบเทยบรางวัลและต:นทน ถ:าผลลัพธQของความสัมพันธQมากกวEาระดับการเปรียบเทียบ (CL) เราจะพงพอใจตอ
ุ
ี
ึ
ความสัมพันธQนั้น แตEบางครั้งคนเราเลือกที่จะยุติความสัมพันธQที่นEาพอใจหรือยังคงเก็บรักษาความสัมพันธQที่ไมEนEาพอใจไว :
ูE
กรณีนี้อธิบายได:ด:วยระดับการเปรียบเทียบความสัมพันธQที่มีอยกับทางเลือกอื่น ระดับการเปรียบเทียบผลลัพธ Q
E
ความสัมพันธQกับทางเลือกอื่น หรือ CLalt เปUนเครื่องวัดเสถียรภาพหรือความมั่นคง (Stability) ของความสัมพันธQมากกวา
ที่จะวัดความพึงพอใจตEอความสัมพันธQ โดยทำนายวEาความสัมพันธQมีแนวโน:มที่จะคงอยูEตEอไปหรือฝèายหนึ่งฝèายใดมีความ
เปUนไปได:ที่จะยุติความสัมพันธQ เชEน ความสัมพันธQระหวEางแป©งกับโบ†ท ถ:าแป©งประเมินวEาผลลัพธQของมิตรภาพระหวEางเธอ
กับโบ†ทโดยรวมดีและสนองความพึงพอใจได: โดยให:คะแนน 8 จาก 10 คะแนน (โดย 1=ความสัมพันธQแยEมาก และ 10=
ความสัมพันธQดีมาก) ในขณะที่ความคาดหวังของแป©งตEอความสัมพันธQหรือระดับการเปรียบเทียบ (CL) อยูEในระดับ 6