Page 55 -
P. 55
ิ
ิ
ุ
ั
์
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
49
U
547 คน ผลวิจัยพบวEาถ:าระยะเวลาในการเปUนเพื่อนทางเฟซบุ†กนานขึ้น การยกเลิกเปUนเพื่อนจะถูกประเมินวEาเปน
ื
พฤติกรรมในทางลบและไมEเปUนที่คาดหวังมากขึ้น และผู:ที่มีการใช:เฟซบุ†กมากก็จะประเมินการถูกยกเลิกเปUนเพ่อนในทาง
ลบมากเชEนกัน
ึ
ความเข:าใจในทฤษฎีการละเมิดความความคาดหวังชEวยให:แนวทางการสื่อสารได:ดี ผู:สEงสารควรตระหนักถง
พฤติกรรมการสื่อสารที่สอดคล:องกับบรรทัดฐานทางสังคมซึ่งเปUนแหลEงที่มาสำคัญของความคาดหวัง เชEน มีระยะหEางใน
การสนทนา การสัมผัส การแตEงกายทเหมาะสมกับบริบท ในกรณีที่ผู:สื่อสารไมEได:มีคุณคEาด:านรางวัล (Communicator
ี่
ู
ุ
ั
:
è
ี
:
ิ
ู
ั
่
ื
่
ิ
ี
reward valence) ในมมมองของผรบสาร การสอสารทผดไปจากความคาดหวงของอกฝายอาจทำใหถกประเมนในทางลบ
และสEงผลให:การสื่อสารไมEประสบผลสำเร็จได:
ทฤษฎีความไมsสอดคล,องทางความคิด (Cognitive Dissonance Theory)
ู:
ทฤษฎีความไมEสอดคล:องทางความคิดพัฒนาขึ้นโดย Festinger (1957) ความรคิด (Cognition) หมายถง ความร ู:
ึ
ความคิด หรือความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งแวดล:อม บุคคล หรือพฤติกรรมของบุคคล เมื่อองคQประกอบความคิดตEาง ๆ ขัดแย:งกัน
ิ
หรอเข:ากันไมEได:จะทำให:เกดความไมสอดคลองทางความคด (Cognitive dissonance) ขึ้น สร:างความไมEสบายใจ ความตึง
:
E
ิ
ื
เครียด และแรงกระตุ:นใหบุคคลพยายามลดความไมEสอดคล:อง ตลอดจนหลีกเลี่ยงสถานการณQหรือข:อมูลที่ทำใหระดบ
ั
:
:
ความไมEสอดคล:องสูงขึ้น
:
ความไมEสอดคล:อง (Dissonance) เปUนภาวะที่เกิดขึ้นหลังการตัดสินใจ การตัดสินใจที่ทำให:เกิดความขัดแยง
ั
ได:แกE การตัดสินใจระหวEางทางเลือกที่ไมEดีทั้ง 2 ทาง การตดสินใจระหวEางทางเลือกที่มีทั้งข:อดีและข:อเสีย และการ
ตัดสินใจเกี่ยวกับทางเลือกมากกวEา 2 ทาง (Festinger, 1957) เชEน การตัดสินใจวEาจะไปทานอาหารกลางวันที่ไหน
ี
:
E
ิ
ื
ี
ิ
:
E
E
:
ระหวางรานบสโทรท่อาหารอรอย บรรยากาศด แตไกลและเสรฟอาหารชามาก กบรานชวนชมที่มีอาหารใหเลอกน:อยและ
ิ
Q
ั
:
บรรยากาศธรรมดา แตEใกล:และให:บริการรวดเร็ว หรือการเลือกระหวEาง 2 ตำแหนEงงานที่ชอบพอ ๆ กัน ถ:าตัดสินใจ
ี
เลือกงาน A และปฏิเสธงาน B แล:ว แตEหลังจากนั้นเห็นวEางาน B มีข:อดีบางอยEาง สEวนงาน A ที่เลือกไปแล:วก็มีข:อเสย
บางอยEาง ซึ่งเปUนองคQประกอบความคิดที่ไมEสอดคล:องกับการตัดสินใจ ทำให:เกิดความไมEสอดคล:องทางความคิดภายหลง
ั
การตัดสินใจ
ความไมEสอดคล:องนอกจากจะมาจากการตัดสินใจระหวEางทางเลือกแล:ว ยังมาจากสถานการณQที่บุคคลม ี
พฤติกรรมไมEสอดคล:องกับทัศนคติและความเชื่อสEวนตัว (Festinger, 1957) เชEน พอลลี่มีทัศนคติทางบวกตEอการพิทักษ Q
สิทธิสัตวQ แตEเธอซื้อเสื้อแจ็คเก†ตหนังแท:ที่สวยเกµมาตัวหนึ่ง หรือธนาสร:างสรรคQสื่อรณรงคQให:คนไมEดื่มแอลกอฮอลQเพราะ
สEงผลเสียตEอสุขภาพ แตEธนามีพฤติกรรมดื่มเหล:าเปUนประจำ