Page 60 -
P. 60
ื
ิ
ุ
ั
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
54
บทที่ 4
ทฤษฎีการสื่อสารระหวsางบุคคล
การสื่อสารระหวEางบุคคล (Interpersonal communication) มีบทบาทสำคัญตEอการดำเนินชีวิตประจำวันและ
วิวัฒนาการของมนุษยQ ในยุคกEอน เมื่อเปรียบเทียบระหวEางคนที่อาศัยอยูEรวมกันเปUนกลุEมกับคนที่ดำเนินชีวิตตามลำพงคน
ั
ี
E
ู
ู
ุ
ั
ี
ุ
ั
่
E
:
:
ึ
ี
เดยว พบวาคนท่อยEในกลEมจะอยEรอดไดมากกวา ซ่งสะทอนวEาผู:ทมีความสามารถในการพฒนาความสัมพนธQระหวEางบคคล
จะถEายทอดคุณลักษณะเหลEานี้ไปยังคนรุEนตEอไปได:มากกวEา ทักษะระหวEางบุคคลสEงผลดีตEอสุขภาพกายและใจรวมถง
ึ
:
:
ความสัมพันธQ ชEวยใหปรับตEอความเครียดไดและมีความพึงพอใจความสัมพันธQได:มากกวEา รวมทั้งมีความวิตกกังวลและ
ความหดหูEน:อยกวEา (Hargie, 2011) นอกจากนี้ ทักษะระหวEางบุคคลยังเปUนคุณสมบัติที่องคQกรต:องการด:วย
การสื่อสารระหวEางบุคคลเปUนการสื่อสารระหวEางคน 2 คนที่อยูEใกล:ชิดกัน มีปฏิกิริยาตอบกลับได:ในทันท ี
(Immediate feedback) และสื่อสารผEานประสาทสัมผัสได:หลายชEองทาง ทั้งการได:ยิน การเห็น การสัมผัส เปUนตน
:
(Miller, 1978)
Peters (1974) อธิบายวEาการสื่อสารระหวEางบุคคลเปUนการสื่อสารที่มีความเปUนสEวนตัวและเปUนมากกวEาการ
พูดคุยระหวEางคนรู:จักกัน (Acquaintances) ซึ่งเปUนการอธิบายการสื่อสารระหวEางบุคคลในมิติ “ความเปUนสEวนตัว”
(Personalness) และ “ระดับของปฏิสัมพันธQ” (Interaction)
นอกจากนี้ ยังนิยาม “การสื่อสารระหวEางบุคคล” ได:วEาเปUนการสื่อสารเพื่อบรรลุเป©าหมายสEวนตัวโดยวิธีการ
ติดตEอแลกเปลี่ยนหรือมีปฏิสัมพันธQกับผู:อื่น (Canary, Cody, and Manusov, 2003)
การสื่อสารระหวEางบุคคล คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนระหวEางบุคคลที่มีอิทธิพลตEอกัน กลEาวคือ เปUนการสื่อสาร
ที่มีผู:มีสEวนรEวมในการสื่อสาร 2 คนหรือมากกวEา 2 คน ที่พึ่งพาอาศัยกันและสร:างข:อผูกมัดเฉพาะในบริบททางสังคมและ
:
ั้
E
ี
E
ั
ั
ั
U
วัฒนธรรมของผู:สื่อสาร ดงน้น การแลกเปลี่ยนแบบสน ๆ กับคนท่ไมรู:จัก เชEน พนกงานขายสินคา ไมถือวEาเปนการสื่อสาร
ู
E
่
ุ
ั
่
ื
่
ิ
ื
ื
ั
ั
ี
ิ
E
ระหวEางบคคล เพราะผู:สอสารไมมอทธิพลตอกนและกน การสอสารกบเพอน สมาชกในครอบครัว เพอนรEวมงาน ครัก จด
E
่
ื
ั
ได:วEาเปUนการสื่อสารระหวEางบุคคล
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารระหวEางบุคคล ได:แกE ทฤษฎีปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณQ (Symbolic Interaction
Theory) และ ทฤษฎีการประสานการจัดการความหมาย (Coordinated Management of Meaning)
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ@เชิงสัญลักษณ@
ทฤษฎีปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณQ (Symbolic Interactionism) เปUนทฤษฎีจุลภาค (Micro-theory) ทาง
สังคมศาสตรQที่ให:ความสำคัญกับมนุษยQและความสัมพันธQในสังคม พื้นฐานของทฤษฎีนี้ คือ ความหมาย (Meaning) ซง
ึ่
ความหมายเกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธQของคนในสิ่งแวดล:อมทางสังคม การสื่อสารเปUนการแลกเปลี่ยนความหมายผEานภาษา
และสัญลักษณQที่ทำให:คนเข:าใจโลก เปUนทัศนะที่มองวEาคนเปUนผู:วางรูปแบบสังคมโลกเอง