Page 62 -
P. 62

ิ
                                                 ิ
                                                                                     ุ
                                                                             ั
                                              ์
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                           ิ
                               ื
                                  ิ
                                                                                                           56

                      (1)  จิตใจ (Mind) จิตใจมีความสามารถในการใช:สัญลักษณQที่มีความหมายทางสังคมรEวมกัน จิตใจทำให:เกด
                                                                                                            ิ
                                                                                                            ื่
                           ตัวตนและสังคม จิตเปUนผลผลิตทางสังคม (Social product) มนุษยQพัฒนาจิตใจผEานปฏิสัมพันธQกับผู:อน
                           ผEานภาษา ไมEได:เปUนสิ่งที่มีมาแตEกำเนิด ทารกไมEสามารถมีปฏิสัมพันธQกับคนอื่นได:จนกวEาจะได:เรียนภาษา
                                                                                        ี่
                                           Q
                           หรือระบบสัญลักษณที่มีความหมายรEวมกัน ทารกแรกเกิดจะตอบสนองโดยทยังไมEเข:าใจความหมายของ
                           คำพูดของพEอแมE การแสดงทEาทางของทารกเปUนลักษณะการเดาสุEมวEาจะทำให:พอแมEตอบสนองตามที่ตนเอง
                                                                                        E
                           ต:องการ แตEเมื่อทารกเริ่มเข:าใจภาษาก็จะสื่อสารด:วยสัญลักษณQหรือทEาทางที่มีความหมายรEวมกันและ
                                                                       :
                                                                     :
                           ทำนายการตอบสนองของผู:อื่นตEอสัญลักษณQที่ตัวเองใชได ภาษาและปฏิสัมพันธกับผู:อื่นนำไปสูEการพัฒนา
                                                                                         Q
                           จิตใจ จิตใจสะท:อนและสร:างสรรคQโลก การเรียนภาษาทำให:มนุษยQเรียนรู:บรรทัดฐานทางสังคม คEานิยม
                           และวัฒนธรรมที่กำหนดการแสดงออกทางพฤติกรรม โลกทางสังคมถูกวางรูปแบบและเปลี่ยนแปลงโดย
                           ปฏิสัมพันธQของมนุษยQ เชEน วัยรุEนอาจมีคำหรือสัญลักษณQเฉพาะเพื่อแสดงการขอบคุณนอกเหนือไปจาก

                           ภาษาที่ใช:ทั่วไปในวัฒนธรรม
                                   จิตใจสัมพันธQกับความคิด (Thought) ซึ่งเปUนการสนทนาภายในใจ (Inner conversation) การ
                                                                                             ั
                           สนทนาภายจิตใจหรอการคิดของมนุษยQเกิดขึ้นได:จากการกระตุ:นทางสังคมและปฏิสัมพนธQกับคนอื่น การคิด
                                          ื
                           ที่มนุษยQได:กระทำ คือ การสวมบทบาทของผู:อื่น (Role taking) หรือการเอาใจเขามาใสEใจเรา ซึ่งเปUนการ
                                                           U
                                                                           ู:
                                                                                                            ื
                                                      ู:
                           มองประสบการณจากมุมมองของผอื่น เปนการจินตนาการวEาผอื่นจะมองสิ่งหนึ่งอยEางไรและจะกระทำหรอ
                                         Q
                                                                                 ี้
                                                                                Q
                           ตอบสนองไปในทางที่คิดวEาคนอื่นจะทำ  การกระทำเชิงสัญลักษณนชEวยใหมนุษยQพัฒนาการรับรู:ตนเอง
                                                                                      :
                           (Sense of self) กลEาวคือ การสวมบทบาทผู:อื่นทำให:บุคคลรู:จักตนเองดีขึ้น รู:วEาคนอื่นคิดอยEางไรกับตน
                           และยังชEวยพัฒนาความสามารถในการเข:าใจความรู:สึกของผู:อื่น (Empathy)
                      (2)  ตัวตน (Self) ตัวตนหรือการรู:จักตนเอง (Sense of self) เกิดขึ้นได:จากการมีปฏิสัมพันธQกับคนอื่น ไมEได:ม ี
                           มาตั้งแตEเกิด การพูดคุยกับคนอื่นทำให:เรามีประสบการณQกับตัวเอง ตัวตนเปUนความสามารถในการสะท:อน
                           ตัวเองจากทัศนะของผู:อื่น ตามทัศนะของ Mead ตัวตนประกอบด:วย “ฉันที่เปUนประธาน” หรือ I ซึ่งเปน
                                                                                                            U
                           ตัวตนตามสายตาของตัวเองและเปUนตัวตนที่มีลักษณะอัตวิสัย (Subjective self) และ “ฉันที่เปUนกรรม”
                           (Me) เปUนตัวตนตามสายตาของคนอื่นและเปUนตัวตนในลักษณะวัตถุวิสัย (Objective self) ซึ่งเปUนภาพ

                                                                                ี่
                           ตัวเองที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของคนอื่น ตัวตนไมEได:มาจากการคิดเกยวกับตัวเอง แตEถูกพัฒนาขึ้นจากการ
                                                                                                 E
                           สวมบทบาทคนอื่นวEามองเราและการกระทำของเราอยEางไร นั่นคือ การคิดจินตนาการวาคนอื่นมองเรา
                           อยEางไร Mead นำแนวคิดเรื่องตัวตนในกระจกเงา (Looking-glass self) ของ Charles Cooley นักสังคม

                           วิทยาในปÅ ค.ศ.1912 มาอธิบายในเรื่องนี้ ตัวตนในกระจกเงาเปUนภาพตัวเองในใจที่มาจากการสวมบทบาท
                           ของคนอื่น และมองตัวเองจากมุมมองของคนอื่น ซึ่งเปUน “ตัวฉันที่เปUนกรรม” (Me) หรือตัวตนในเชิงวัตถ ุ

                                                                                                            E
                           วิสัย (Objective self) หรือตัวตนตามสายตาของคนอื่น ตัวตนในกระจกเงาประกอบด:วยภาพลักษณQตอ
                           ตนเอง (Self-image)  การจินตนาการถึงความคิดของผู:อื่นที่มีตEอภาพลักษณQนั้น และปฏิกิริยาหรอ
                                                                                                            ื
                           ความรู:สึกของเราที่มีตEอจินตนาการนั้น ทำให:เกิดความรู:สึกที่มีตEอตัวเอง เชEน ความภาคภูมิใจ Cooley
                           (1972) อธิบายวEาตัวตนในกระจกเงามาจาก (1) เราจนตนาการวาผอนมองเราอยEางไร (2) เราจนตนาการวEา
                                                                   ิ
                                                                              ู
                                                                               ื
                                                                               ่
                                                                                                   ิ
                                                                            E
                                                                              :
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67