Page 67 -
P. 67

ั
                                           ิ
                                              ์
                                  ิ
                                                                                     ุ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                               ื
                                                 ิ
                                                             ิ
                                                                                                           61

                          กางเกงยีนสQ เสื้อยืดจะเปUนสไตลQที่ชื่นชอบมากที่สุด แตวิชัยเลือกเครื่องแตEงกายที่คิดวEาเหมาะสมกับบริบท
                                                                     E
                                                                                              ิ
                          สถานที่ทำงาน นอกจากนี้ วัฒนธรรมก็มีอิทธิพลอยEางมากตEอพฤติกรรมและทัศนคตตEอแนวคิดเกี่ยวกบ
                                                                                                            ั
                                                                  ี่
                                                                     ู:
                                                                                                            ิ
                          ตัวเอง (Self-concept) เชEน ในสหรัฐอเมริกา คนทรับรตัวเองวEาเปUนคนกล:าและมั่นใจในการแสดงความคด
                                                                                     ิ
                                                                                ั
                          มักจะภูมิใจและมีทัศนคติทางบวกกับคุณลักษณะสEวนตัวนี้ เพราะสหรฐอเมรกามีวฒนธรรมแบบปiจเจกนิยม
                                                                                         ั
                          ที่ให:คุณคEากับความกล:าแสดงความคิดเห็นและความเปUนตัวของตัวเอง ในวฒนธรรมเอเชยใหคณคากบความ
                                                                                                  ุ
                                                                                    ั
                                                                                                 :
                                                                                              ี
                                                                                                       ั
                                                                                                     E
                               ื
                                                                                                 ี
                                                      E
                                                                                                 ่
                                                                                                     ั
                                                                                                  ื
                                  :
                                                                                            U
                          รEวมมอใหความสำคัญกับกลุEมมากกวาปiจเจกบุคคล ดังนั้น คนเอเชียที่มองวาตัวเองเปนคนทยนหยดในความ
                                                                                    E
                          คิดเห็นตัวเองอาจไมEมีทัศนคติทางบวกตEอแนวคิดตัวเองหรือคุณลักษณะสEวนตัวในด:านนี้
                                        ู
                       (2)  โครงสร:างสังคมถกสร:างและเปลี่ยนแปลงผEานปฏิสัมพันธQทางสังคม ทฤษฎีปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณปฏิเสธ
                                                                                                        Q
                                                                       E
                          ความคิดที่วEาโครงสร:างสังคมไมEเปลี่ยนแปลง โดยอธิบายวาบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงสถานการณQสังคมได  :
                          เชน องคQกรบางแหEงไดมระเบยบ “Casual Fridays” คือใหพนักงานใสเส้อผาลำลองไดในวนศกร สะท:อนให :
                                                 ี
                                                                                             :
                            E
                                                                                  ื
                                                                                     :
                                                                                                    Q
                                                                                                  ุ
                                                                        :
                                                                                 E
                                                                                                ั
                                             ี
                                            :
                                                      :
                          เห็นวEาผู:มีสEวนรEวมในปฏิสัมพันธQไดปรับเปลี่ยนโครงสร:างและไมEได:ถูกจำกัดโดยโครงสร:างหรือบรรทัดฐาน
                          ทางสังคมทั้งหมด นักทฤษฎีปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณQเชื่อวEามนุษยQเปUนผู:ตัดสินใจเลือกและเปUนผู:จัดโครงสร:าง
                          ทางสังคม

                       โดยสรุป ทฤษฎีปฏิสัมพันธQทางสัญลักษณQอธิบายวEาความหมายของสิ่งตEาง ๆ รวมทั้งความจริงทางสังคมมาจาก
                                         ุ
                                                                                                       ิ
                                                                                                           ั
               ปฏสัมพนธQและการตีความของบคคล นอกจากน้ จิตใจและตัวตนหรือแนวคิดเกี่ยวกับตัวเองก็พฒนาขึ้นมาจากปฏสัมพนธ Q
                      ั
                                                                                         ั
                  ิ
                                                     ี
               ทางสังคมผEานการใช:ภาษาหรือสัญลักษณQ มีงานวิจัยที่ศึกษาเรื่องกระบวนการปฏิสัมพันธQและการสร:างอัตลักษณ  Q
               (Identity) ของกลุEมบุคคล เชEน ศขรา ศิริสาร (2556) ทำวิจัยเรื่องกระบวนการปฏิสัมพันธQและการสร:างอัตลักษณQรEวมใน
                                         ิ
               แฟนเพจเฟซบุ†กฮิปคิงคอง ผลวิจัยพบวEาสมาชิกมีปฏิสัมพันธQทางสังคมในกลุEมแฟนเพจฮิปคิงคอง โดยเริ่มจากการแสดง
               ความคิดเห็นในหน:าแฟนเพจ ตามด:วยการทำกิจกรรมรEวมกันทั้งกิจกรรมในเพจและกิจกรรมในโลกความจริง สมาชิกมอง
               วEาเพจฮิปคิงคองเปรียบเสมือนพื้นที่ศูนยQกลางในการสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธQกับสมาชิกอื่น มีการสร:างระบบสัญลักษณ Q
               และความหมายในการสื่อสารเพื่อแสดงอัตลักษณQของกลุEม เชEน คำวEา “แก†งจี” หรือ “กลุEมจี” สื่อความหมายถึงเพื่อนใน
                                                                                                            ั
               กลุEมฮิปคิงคอง การใช:คำวEา “ฮิป” ตEอท:ายชื่อของสมาชิกในกลุEม เชEน ต†ะฮิป บอยฮิป เพื่อแสดงถึงการเปUนพวกเดียวกน
               หรือเปUนสมาชิกกลุEมฮิปคิงคอง ธัญญากร บุญมี และอัศวิน เนตรโพธิ์แก:ว (2561) ศึกษาเรื่องอัตลักษณQเสมือนและการ
               ปฏิสัมพันธQทางสังคมบนเครือขEายสังคมเกมออนไลนQ พบวEาผู:เลEนเกมออดิชั่นมีปฏิสัมพันธQระหวEางกันในหลายชEองทาง
                    E
               ไดแก ระบบ FAM (Family) Office หรอระบบรวมกลุEมในเกมออดิชั่น ระบบสEงขอความทาง Messenger และการสื่อสาร
                 :
                                              ื
                                                                              :
                                                          ó
                                                                                                 ี
               ผEานหน:า Dancing Hall ซ่งเปนชองทางการส่อสารท่เปดเผย ไมเปนสวนตว ท้งน กอนท่ผ:เลนเกมจะเรมมปฏสมพนธQกบผ ู:
                                                                                                           ั
                                                                                                     ั
                                                                                                   ิ
                                                                                                       ั
                                                                 E
                                                                         ั
                                    ึ
                                         E
                                                                                   ี
                                                                              ี้
                                                                            ั
                                       U
                                                                                E
                                                                     E
                                                                   U
                                                        ี
                                                                                              ิ่
                                                                                     ู
                                                   ื
                                                                                      E
               เลEนอื่นนั้น ผู:เลEนจะมีเกณฑQในการเลือกคูEสนทนาและการกำหนดความสัมพันธQ โดยวัดจากความดึงดูดทางอัตลักษณ  Q
               ความสามารถในการเลEน ความคล:ายคลึงกับตัวเอง มีการพัฒนาความสัมพันธQในโลกชุมชนเสมือน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72