Page 72 -
P. 72

ิ
                                           ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                               ื
                                              ์
                                                                             ั
                                                                                     ุ
                                                 ิ
                                                             ิ
                                                                                                           66

                                                           บทที่ 5
                                            ทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธ@ระหวsางบุคคล

                       ความสัมพันธQระหวEางบุคคล (Interpersonal relationships) เปUนความเชื่อมโยงกันระวEางบุคคลอยEางน:อย 2 คน

               หรือมากกวEา 2 คน อาจเรียกได:วEาเปUนความสัมพันธQแบบใกล:ชิด (Close or intimate relationships) ความสัมพันธQแบบ
               ใกล:ชิดมักพบในครอบครัว สามีภรรยา คูEรัก เพื่อนสนิท ความสัมพันธQระหวEางบุคคลมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง

               ตลอดเวลา ต:องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา ซึ่งเหมือนกับสิ่งมีชีวิตที่มีจุดเริ่มต:น มีการเติบโตและพัฒนาทีละน:อย ม ี
                                                                                       Q
                                                                                            ู
                                                                ั
               อายุขัย และมีจุดสิ้นสุด เมื่อบุคคลสองฝèายร:จักกันและคEอย ๆ พฒนาความใกล:ชิดทางอารมณความร:สึก หรอความสัมพนธ Q
                                                                                                           ั
                                                 ู
                                                                                                  ื
               อาจจะแยEลงและแยกจากกันในที่สุด มีหลายปiจจัยที่สEงเสริมและเปUนอุปสรรคตEอการพัฒนาความสัมพันธQ
                       ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาความสัมพันธQระหวEางบุคคล ได:แกE ทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธQระหวEางบุคคล
               (Social penetration theory) ที่อธิบายถึงขั้นตอนของการพัฒนาความสัมพันธQ การเปóดเผยตนเองและการแลกเปลี่ยน
                                                                      ูE
               ข:อมูลระหวEางกันในทางกว:างและลึกที่ทำให:ความสัมพันธQพัฒนาไปสความใกล:ชิดสนิทสนม ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทาง
               สังคม (Social exchange theory) ที่อธิบายถึงความสัมพันธQระหวEางบุคคลที่ได:รับการประเมินจากรางวัลที่ได:รับและ
               ต:นทุนที่บุคคลต:องจEายในความสัมพันธQ ซึ่งมีผลตEอการเลือกที่จะสานตEอหรือยุติความสัมพันธQ และทฤษฎีการประมวล

               ข:อมลทางสังคม (Social Information processing theory) อธิบายการพฒนาความสัมพนธQระหวEางบุคคลที่มีการสื่อสาร
                                                                                     ั
                                                                         ั
                   ู
               ที่ใช:คอมพิวเตอรQเปUนสื่อกลาง ซึ่งสื่อคอมพิวเตอรQมีข:อจำกัดในด:านการถEายทอดข:อมูลทางอวัจนภาษา เชEน น้ำเสียง การ
                                                                                                   ื
                                                                                      :
                                                            Q
               แสดงออกทางใบหน:า ทEาทาง แตEผู:สื่อสารทางคอมพิวเตอรสามารถอาศัยข:อมูลอื่น ๆ เพื่อสรางรอยประทับหรอภาพลักษณ Q
               ที่มีตEออีกฝèาย และนำไปสูEการพัฒนาความสัมพันธQได:เชEนเดียวกันกับการสื่อสารแบบเห็นหน:าคEาตา

               ทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธ@ทางสังคม (Social Penetration Theory)

                       ความสัมพันธQมีความสำคัญและเปUนหัวใจสำคัญของมนุษยQ นักทฤษฎีพยายามอธิบายลักษณะของความสัมพันธQท ี่

                                                                                                            ั
               มีความซับซ:อนและทำนายได: Irwin Altman และ Dalmas Taylor (1973) ได:ศึกษาคูEสื่อสารที่มีความสัมพันธQใกล:ชิดกน
                                                                                                     ื
               หลายคูE และวางกรอบความคิดของทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธทางสงคม (Social Penetration Theory) เพอใหเขาใจ
                                                                                                     ่
                                                                  Q
                                                                      ั
                                                                                                        :
                                                                                                          :
               ความสัมพันธQใกล:ชิดระหวEางคนสองคน ทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธQทางสังคมอธิบายกระบวนการพัฒนาความสัมพันธ Q
               ระหวEางบุคคล จากความสัมพันธQแบบผิวเผินไปสูEความสนิทสนมใกล:ชิดมากขึ้น ซึ่งไมEได:หมายถึงเฉพาะความใกล:ชิดทาง
               กายภาพเทEานั้น แตEยังรวมถึงมิติอื่น ๆ ด:วย เชEน ความคิด อารมณQ และการมีกิจกรรมรEวมกัน การพัฒนาความสัมพันธ Q
               ระหวEางบุคคลมีความแตกตEางกันไป ตั้งแตEความสัมพันธQระหวEางสามีภรรยา ผู:บังคับบัญชาและผู:ใต:บังคับบัญชา ไปจนถง ึ

               หมอและผู:ปèวย โดยระดับความสัมพันธQเกี่ยวข:องกับการแลกเปลี่ยนข:อมูลระหวEางกัน

                       ลักษณะของการพัฒนาความสัมพันธ@ระหวsางบุคคล



                       ทฤษฎีการพัฒนาความสัมพันธQทางสังคมอธิบายลักษณะของความสัมพันธQระหวEางบุคคล ดังนี้
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77