Page 66 -
P. 66
ิ
ุ
ั
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
์
ิ
ิ
60
ทฤษฎีปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณQวาดภาพบุคคลที่มาจากปฏิสัมพันธQทางสังคมกับคนอื่น ข:อสรุปเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับ
ตัวเองและความเชื่อมโยงกับปฏิสัมพันธQกับคนอื่นมีดังนี้
(1) บุคคลพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับตัวเองจากปฏิสัมพันธ@กับผู,อื่น การรู:จักตัวเอง (Sense of self) เกิดขึ้นจาก
E
:
การติดตEอสื่อสารกับผู:อื่น คนเราไมEไดมีแนวคิดเกี่ยวกับตนเองมาตั้งแตEเกิด แตต:องอาศัยการเรียนรู:จาก
E
ั
ปฏิสัมพันธกับผู:อื่นในสังคม เมื่อแรกเกิดทารกยังไมรู:จักตนเอง และจะเริ่มแยกความแตกตEางของตัวเองกบ
Q
สิ่งแวดล:อมรอบตัวในชEวงปÅแรก ซึ่งเปUนขั้นแรกของการพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับตัวเอง กระบวนการนี้ยังคง
ดำเนินตEอไปผEานการเรียนรู:ภาษาและความสามารถในการตอบสนองตEอคนอื่น สำนึกหรือการรู:จักตนเอง
เกิดขึ้นได:จากการติดตEอสื่อสารกับพEอแมE ครู และเพื่อน ปฏิสัมพันธQเหลEานี้ทำให:รู:วEาตัวเองเปUนใคร
ิ
(2) แนวคดเกี่ยวกับตนเองให,แรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรม ความเชื่อ คEานิยม ความรู:สึก และการประเมน
ิ
เกี่ยวกับตนเองมีผลกระทบตEอพฤติกรรม Mead อธิบายวEามนุษยQเปUนเจ:าของตัวตนที่พัฒนาขึ้นจากการ
ี่
ปฏิสัมพันธQกับตนเอง (Self-interaction) หรือการพูดคุยกับตัวเอง (Self-talk) ซึ่งเปUนกลไกทให:ทิศทางของ
การกระทำ นอกจากนี้ Mead มองวEาตัวตนเปUนกระบวนการทผลกดันให:กระทำและตอบสนอง แนวคิดน ี้
ั
ี่
E
สามารถอธิบายปรากฏการณQความคาดหวังของบุคคลสร:างความเปUนจริง (Self-fulfilling prophecy) เชน
ี
ความรู:สึกมั่นใจในความสามารถในการนำเสนองานหน:าชั้นเรียนทำให:มแนวโน:มที่บุคคลจะนำเสนองานได:ด ี
ความคาดหวังในตนเอง (Self-expectations) และการรับรู:ตัวเองผลักดันให:บุคคลมีการกระทำไปในทางท ี่
สอดคล:องกัน ดังนั้น การรับรู:และการคาดหวังตัวเองในทางลบ เชEน ไมEมีความสามารถ ก็มีแนวโน:มให:การ
กระทำได:ผลลัพธQไมEดีตามการคาดหวังของตัวเอง การพูดคุยกับตัวเองในทางลบสร:างสถานการณQที่การ
ทำนายถึงความล:มเหลวจะเกิดขึ้นจริง
สEวนปรากฏการณQความคาดหวังสร:างความเปUนจริงแบบที่สอง คือ Pygmalion effect ปรากฏการณ Q
ที่บุคคลจะกระทำไปในแบบที่คนอื่นคาดหวัง ปรากฏการณQนี้ได:รับการทดลองในการวิจัยของ Robert
Rosenthal และ Lenore Jacobson (1968) ในการวิจัยนี้ Rosenthal และ Jacobson บอกครูโรงเรียน
:
ิ
ประถมศึกษาวา มีนักเรยนในห:องที่เปUนเด็กอัจฉรยะรอยละ 20 สEวนชื่อนักเรยนที่เปUนเด็กอัจฉรยะได:มาจาก
ี
E
ี
ิ
ื
ี
การสุEม 8 เดือนตEอมา นักเรียนเหลEานี้แสดงถึงการม IQ สูงขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบกับนักเรียนที่เหลอ
ี
ผลการวิจัยสรุปวEาความคาดหวังของครู (และพฤติกรรมที่เปUนผลมาจากความคาดหวัง) ที่มผลตEอระดับไอ
คิวที่สูงขึ้นของนักเรียน
ความสัมพันธ@ระหวsางปìจเจกบุคคลและสังคม
Mead และ Blumer อธิบายวEาระเบียบ (Order) และการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการสังคมมาจากปฏิสัมพันธ Q
ของมนุษยQในสังคม โดยสรุปความสัมพันธQระหวEางปiจเจกบุคคลและสังคม ดังนี้
(1) พฤติกรรมของบุคคลและกลุEมได:รับอิทธิพลจากกระบวนการทางสังคมและวัฒนธรรม บรรทัดฐานทางสังคม
E
กำหนดพฤติกรรมบุคคล เชEน วิชัยเลือกเครื่องแตEงกายที่สุภาพ โดยใสEเสื้อเชิ้ต ผูกเน็คไท ไปทำงาน แม:วา