Page 58 -
P. 58
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
52
ี่
ตEอสุขภาพ การลดความไมEสอดคล:องนี้ทำได:ด:วยการเลิกบุหร แตEการเปลี่ยนพฤติกรรมไมEใชEเรื่องที่ทำได:อยEางงEายดาย
จึงอาจหาวิธีอื่นที่ชEวยลดความไมEสอดคล:องลงได: เชEน การเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ หรือการหาข:อมูลที่สอดคล:องกับการ
่
ื
ิ
กระทำของตัวเองและโดยธรรมชาติของบุคคลจะเลือกวิธีที่งายที่สุดเพอลดความไมEสอดคล:องทางความคด วิธีอื่น ๆ ท่จะ
ี
E
ชEวยให:ความคิดของบุคคลมีความสอดคล:องมีดังนี้ (O’Keefe, 2002)
(1) การเปลี่ยนสัดสEวนองคQประกอบความคิดที่สอดคล:องและไมEสอดคล:อง โดยเพิ่มความคิดใหมE ๆ ท ี่
็
ี
สอดคล:องกับการกระทำมากขึ้น เชEน คนติดบุหร่ที่เชื่อวEาบุหร่เปUนสาเหตุของโรคมะเรงและแพง อาจหา
ี
ความคิดหรือข:อมูลใหมEที่สอดคล:องกับพฤติกรรมตัวเอง เปUนการเพิ่มองคQประกอบความคิดในสEวนท ี่
ิ
่
ุ
:
E
่
ื
E
ี
:
สอดคล:องกับพฤติกรรม เชน บหรชวยเพมการเผาผลาญพลงงานในรางกายทำใหไมอวน หรอพยายาม
ั
E
E
เปลี่ยนหรือลบความคิดเดิมที่ไมEสอดคล:องกับการกระทำ เชEน ผู:สูบบุหรไมEได:มีโอกาสเปUนมะเรง
็
ี่
เหมือนกันทุกคน หรือโรคมะเร็งมีสาเหตุจากปiจจัยอื่น ๆ มากกวEาบุหรี่
(2) การลดความสำคัญขององคQประกอบความคิดที่เกี่ยวข:อง เชEน คนติดบุหรี่อาจประเมินวEาคEาใช:จEายใน
U
การสูบบุหรี่ไมEได:สำคัญมากมายอะไรนักเมื่อเทียบกับประโยชนQของบุหรี่ที่ชEวยลดความเครียดซึ่งเปน
ผลลัพธQสำคัญของการสูบบุหรี่ หรือมองวEาประเด็นการสูบหรือไมEสูบบุหรี่ไมEใชEเรื่องสำคัญ
(3) ในกรณีที่ความไมEสอดคล:องทางความคิดมาจากการตัดสินใจ ผู:ตัดสินใจอาจจะประเมินทางเลือกใหม E
:
อีกครั้ง โดยประเมินสิ่งที่ตนเองเลือกไปในทางบวกมากขึ้นไปอีก รวมถึงใหความสำคัญกับข:อดีตEาง ๆ
:
ึ
ึ
ิ
ี
และประเมนส่งท่ไมไดเลอกไปในทางลบมากข้น ซ่งจะทำใหทางเลอกท้งสองมความแตกตางกนมากขน
ั
ื
ั
ิ
ื
ึ้
E
E
ี
:
และความไมEสอดคล:องทางความคิดของผู:ตัดสินใจก็จะลดลงได: มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งทดลองให:กลม
ุE
ิ
ตัวอยEางเลือกสินค:า 2 ชิ้นเปUนของขวัญกลับบ:าน ปรากฏวEากลมตวอยEางประเมนของขวัญทตนเองเลอก
ุ
ี
่
ั
ื
E
ดีขึ้นกวEาการประเมินคร้งแรก และประเมินสินค:าที่ไมEได:เลือกในทางลบมากขึ้น (Cooper et al., 2005:
ั
67) นั่นเปUนเพราะกลุEมตัวอยEางเกิดความรู:สึกไมEสอดคล:องขึ้นหลังจากเลือกของขวัญ จึงปรับเปลี่ยน
ทัศนคติโดยพยายามคิดถึงแตEด:านดีของสิ่งที่เลือก และด:านลบของสิ่งที่ไมEได:เลือก
(4) การเปลี่ยนหรอยกเลิกการตัดสินใจที่ทำให:เกิดความไมEสอดคล:องทางความคิด เชEน คนที่ตัดสินใจเลือก
ื
ซื้อบ:านหลังหนึ่งและชำระเงินคEาจองแล:ว แตEเปลี่ยนใจยอมทิ้งเงินคEาจองในภายหลัง เมื่อได:รับข:อมล
ู
ทางลบเกี่ยวกับบ:านที่จอง
(5) การทำให:สององคQประกอบความคิดซ:อนกัน (Cognitive overlap) โดยมองวEาทางเลือกทั้งสองให :
ผลลัพธQเหมือน ๆ กัน เชEน ก:องเลือกไปชมคอนเสิรQตแทนการไปรEวมงานปารQตี้กับเพื่อน เขาอาจ
Q
ี
้
ั
Q
เสยดายวาพลาดงานปารตสงสรรค แตเขาบอกตวเองวาการชมคอนเสรตกับการไปปารตี้ชEวยผEอนคลาย
ี
E
Q
E
ิ
E
ั
Q
ความเครียดได:เหมือนกัน
โดยสรุป ทฤษฎีความไมEสอดคล:องทางความคิดซึ่งมีสาระสำคัญเกี่ยวกับผลที่เกิดขึ้นจากองคQประกอบความคิดท ี่
ขัดแย:งกันของบคคล และวิธีท่เปนไปได:ในการลดหรือขจัดความขัดแย:งทางความคิดและพฤติกรรม ความเข:าใจเรื่องความ
ุ
U
ี
ู:
ิ
ไมEสอดคล:องทางความคิดนำไปอธิบายเรื่องการเปóดรับขEาวสาร โดยผรับสารมักจะเปóดรับขEาวสารที่สอดคล:องกับความคด