Page 160 -
P. 160
ั
ิ
ุ
ิ
ิ
ิ
์
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
154
การพิจารณาตัดสิน และเปรียบเทียบพฤติกรรมที่สังเกตกับบรรทัดฐานทางสังคม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง
ตามความจำเปUน (Bandura, 1986)
ึ้
สื่อที่มีการวิจัยมากขน คือ วิดีโอเกมสQ เนื่องจากวิดีโอเกมสQได:รับความนิยมเพิ่มขึ้น จึงจำเปUนต:องเข:าใจเหตุผลใน
การเลEนเกมสQและผลกระทบของเกมสQ Lin (2013) ศึกษาความสัมพันธQของการรู:คิดทางสังคมกับการเลEนวิดีโอเกมสQ ผล
ุ
พบวEาการเรียนรู:หรือประสบการณQจากการเลEนเกมสQที่มีเนื้อหาความรนแรงทำให:เกิดความก:าวร:าวมากกวEาการสังเกต
พฤติกรรมในเกมสQ แตEไมEได:รEวมเลEนเกมสQ
มีงานวิจัยเกี่ยวกับการบริโภคสื่อและการรู:คิดทางสังคมแสดงผลวิจัยมากมาย เชEน แนวคิดเกี่ยวกับตัวเอง (Self-
concept) ของวัยรุEนได:รับอิทธิพลโดยตรงจากต:นแบบที่นำเสนอทางสื่อ ไมEวาจะเปUนโทรทัศนQ เพลง ภาพยนตรQ (arnett,
E
2002; Kistler, Boyce Rodgers, Power, Weintraub Austin, & Griner Hill, 2010) สEวนงานวิจัยกับเด็กกEอนวัยเรียน
Zimmerman, Oritz, Christakis, and Elkun (2012) พบวEาการชมรายการโทรทัศนQสามารถสEงเสริมพฤติกรรมสุขภาพได:
ทฤษฎีการปลูกฝìง (Cultivation Theory)
Gerbner นักวิชาการด:านการสื่อสารแหEงมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย มีชื่อเสียงในด:านการศึกษาผลกระทบของ
©
ุ
:
ั
Q
ี
ื
เน้อหาความรุนแรงทางสื่อโทรทศน คณะกรรมาธิการดานสาเหตและการปองกนความรุนแรงของประธานาธิบด Lyndon
ั
Johnson ได:ให: Gerbner ดำเนินโครงการวิจัยสื่อที่เรียกวEา โครงการตัวบEงชี้ทางวัฒนธรรม (Cultural Indicators
ึ่
Project) ซงประกอบด:วย 2 สEวน สEวนแรกเปUนการวิเคราะหQสาร โดยการติดตามเนื้อหาความรุนแรงในรายการโทรทัศน Q
ชEวงไพรมQไทมQ (Prime Time) และการวิเคราะหQผลกระทบของสื่อด:านการปลูกฝiง (Cultivation analysis) ซึ่งเปน
U
การศึกษาผู:ชมเกี่ยวกับการรับรู:ความเปUนจริงทางสังคมที่เชื่อมโยงกับการชมโทรทัศน Q
ผลการวิจัยกับกลุEมตัวอยEางผู:ชมโทรทัศนQชาวอเมริกันและแคเนเดียนที่มีคุณลักษณะทางประชากร การศึกษา
และรายได:แตกตEางกันไป Gerbner พบวEากลุEมผู:ชมโทรทัศนQมาก (มากกวEา 4 ชั่วโมงตEอวัน) จะประเมินแนวโน:มในการตก
เปUนเหยื่อของอาชญากรรมและการเพิ่มขึ้นของอาชญากรรมในสังคมสูงเกินกวEาความเปUนจริง Gerbner เรียกวEาเปUนกลม
ุE
อาการการมองโลกวEาอันตราย (The Mean World Syndrome) เปUนการรับรู:วEาโลกโหดร:ายและเต็มไปด:วยอันตรายมาก
ซึ่งเกิดขึ้นกับกลุEมผู:ชมโทรทัศนQมาก
ผลการวิจัยเกี่ยวกับการมองโลกวEาอันตราย (Mean-world syndrome) โดยวิเคราะหQพฤติกรรมความรุนแรงใน
Q
ั
็
ั
Å
รายการโทรทศนสำหรับเดก 2,000 รายการระหวEางป ค.ศ.1967-1985 และศึกษาผลกระทบของความรุนแรงทางโทรทศน Q
ที่มีตEอผู:ชมโดยการสำรวจทัศนคติของผู:รับสาร ผลพบวEาผู:ที่ชมโทรทัศนQมีความคิดเห็นวEาโลกโหดร:ายมากกวEาผู:ที่ชม
โทรทัศนQน:อย และผู:ชมโทรทัศนQมากจะมีความรู:สึกไมEไว:วางใจผู:อื่นมากกวEาผู:ชมโทรทัศนQน:อย (Nancy Signorielli อ:างถง
ึ
ใน Littlejohn, Foss, and Oetzel, 2017)
สาระสำคัญของทฤษฎีการปลูกฝiง คือ การชมโทรทัศนQมากจะปลูกฝiงทัศนะเกี่ยวกับโลก อิทธิพลของสื่อที่มีตอ
E
ั
ผู:รบสารเติบโตและพฒนาไปตามเวลาเปรยบเหมือนกับพชผลของเกษตรกรที่ใช:เวลาในการเติบโต ผลกระทบของสื่อในการ
ั
ื
ี
ปลูกฝiงความจริงไมEได:เกิดจากรายการโทรทัศนQรายการหนึ่งหรือการเปóดรับเนื้อหาในชEวงเวลาสั้น ๆ ผลกระทบด:านการ