Page 165 -
P. 165

ิ
                                                                             ั
                               ื
                                                                                     ุ
                                                             ิ
                                              ์
                                           ิ
                                                 ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                                                                           159

                             ็
               ท:องถิ่น อยEางไรกตาม ผลการวิจัยนี้สนับสนุนสEวนหนึ่งของทฤษฎีการปลูกฝiงและชี้ให:เห็นวEาละครโทรทัศนQพาผู:ชมไปยง ั
               โลกของเรื่องเลEา (Narrative world) ที่สEงให:เกิดความกลัวอาชญากรรม  (Littlejohn, Foss, and Oetzel, 2017)
                                                                               ั
                       นอกจากที่จะเน:นศึกษาผลกระทบของเนื้อหาความรุนแรง ยังมีงานวิจยที่ศึกษาความแตกตEางกันในการรับร ู:
                                                               ิ
               ประเด็นสังคมอื่นที่เปUนผลจากการชมโทรทัศนQ เชEน ภาพผู:หญงที่นำเสนอทางสื่อและอิทธพลของสื่อที่มีตEอการรบรเกี่ยวกบ
                                                                                                    ั
                                                                                                       ู
                                                                                                       :
                                                                                                            ั
                                                                                   ิ
               รูปรEางที่มีสุขภาพดี  Nabi (2009) ประเมินความถี่ในการชมรายการ physical makeover programs และพบวEาผู:ชม
                                        ั
                                E
                          ี
                                  ึ
                                          ู
                                                                                                  ิ
                                                                                      ั
                                                                                                            ุE
                                                                                                         E
                                                 Q
                                             ั
                                                                             :
                                                            ั
               รายการมากมความไมพงพอใจกบรปลกษณภายนอกของตวเองและแสดงความตองการทำศลยกรรมพลาสตกมากกวากลม
               ผู:ชมรายการน:อย นักวิจัยอื่นได:ศึกษาความสัมพันธQระหวEางภาพที่สื่อนำเสนอและความเชื่อเกี่ยวกับความอ:วน (Obesity)
               และความผิดปกติในการทานอาหาร (Disordered eating) (Gentles & Harrison, 2006)
                       นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาผลกระทบด:านการปลูกฝiงของสื่อประเภทอื่นด:วย Park (2008, อ:างถึงใน Dainton
                                  E
                                                                                                   :
                                                                                                   ู
               and Zelly, 2015) พบวาการเปóดรบโฆษณายาลดภาวะซึมเศราทางสื่อสิ่งพิมพQบEอยมีความสัมพันธกับความรสึกที่บิดเบือน
                                                               :
                                                                                           Q
                                          ั
               เกี่ยวกับแนวโน:มที่บุคคลจะพัฒนาภาวะซึมเศร:าทางการแพทยQ Vergeer, Lubbers, และ Scheepers (2000) พบวEาการ
               เปóดรับเรื่องราวเกี่ยวกับอาชญากรรมจากชนกลุEมน:อยทางหนังสือพิมพQมากจะมีการรับรู:การคุมคามขEมขูEจากชนกลุEมน:อย
                                                            :
                          ้
               ทางเชอชาตขน นอกจากน นกวจยยงสนใจศกษาอทธพลดานปลกฝงจากสอประเภทภาพยนตร วิดีโอเกม และสื่อออนไลน    Q
                                                      ิ
                                                         ิ
                                                                 ู
                         ิ
                          ึ
                                                                                        Q
                                                                   i
                                                                        ื่
                                    ี
                                           ั
                                      ั
                                        ิ
                                         ั
                    ้
                    ื
                                    ้
                                                  ึ
               ผลการวิจัยพบวEามีความสัมพันธQระหวEางพฤติกรรมความก:าวร:าวและการเลEนวิดีโอเกม ซึ่งสอดคล:องกับทฤษฎีการปลูกฝง i
               ของ Gerbner

               ผลกระทบจากเนื้อหาความรุนแรงของสื่อ

                       สมมติฐานการผsอนคลาย (The Catharsis Hypothesis)

                       Catharsis เปUนคำในภาษากรีก แปลวEา การกำจัดมลทิน การทำให:บริสุทธิ์ (Purification) ถูกนำมาใช:เพื่อสอ
                                                                                                            ื่
               ความหมายถึง การปลดปลEอยความตึงเครียด สมมติฐานการผEอนคลายอธิบายวEาการชมโทรทัศนQชEวยปลดปลEอยความตง ึ
               เครียด ซึ่งเปUนแรงจูงใจหนึ่งในการใช:สื่อตามทฤษฎีการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจ เชEน การชมละครเพื่อผEอนคลาย
               สมมติฐานการผEอนคลายที่ประยุกตQใช:กับความรุนแรงในสื่อชี้วEาการเปóดรับเนื้อหาความรุนแรงจากสื่อชEวยปลดปลEอย
               ความเครียดและลดแนวโน:มที่จะแสดงพฤติกรรมความรุนแรงของผู:ชม Seymour Feshbach เปUนนักวิจัยคนแรกที่เสนอ
               วEาจริง ๆ แล:ว การเปóดรับชมความรุนแรงทางโทรทัศนQมีผลดี การชมผู:อื่นมีพฤติกรรมก:าวร:าวรุนแรงจะชEวยให:บุคคลท ี่
               กำลังอยูEในอารมณQโกรธและมีแนวโน:มที่จะแสดงความก:าวร:าวได:ชำระล:างอารมณQของตัวเอง และมีแนวโน:มน:อยลงที่จะ
               แสดงพฤติกรรมก:าวร:าวจากอารมณQโกรธนั้น อยEางไรก็ตาม สมมติฐานการผEอนคลายไมEได:รับการพิจารณาวEาอธิบาย
               ผลกระทบของความรุนแรงจากสื่อได:อยEางเที่ยงตรง
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170