Page 164 -
P. 164
ิ
ั
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
ื
158
กลัว และปฏิเสธภาพความจริงของชีวิตที่ปราศจากความรุนแรง ในทำนองเดียวกัน ถ:าบุคคลรู:สึกวEาตนเอง
ตกเปUนเหยื่อในรูปแบบอื่น ๆ เชEน ถูกแบEงแยกทางเพศ รูปลักษณQหน:าตา การชมพฤติกรรมความรุนแรง
เหลEานี้ทางโทรทัศนQยิ่งทำให:รับรู:วEาพฤติกรรมเหลEานี้เปUนบรรทัดฐานของสังคม
ั
ิ
ั
ตวอยEางอทธิพลในการปลูกฝiงของสื่อโทรทศน เชน ถ:าโทรทศนนำเสนอภาพอาชญากรรมท่เกดขึ้นในจังหวัดหนง ึ่
Q
Q
ั
ิ
ี
E
ซ้ำ ๆ บEอยครั้ง (Mainstreaming) ผู:ชมที่อาศัยอยูEในจังหวัดเดียวกันนี้ที่ได:เห็นภาพสถานที่ที่คุ:นเคยในรายการโทรทัศนQจะ
ี
่
้
ึ
:
:
่
i
้
ู
U
ิ
ู
ึ
ึ
ึ
รู:สกวEาอาชญากรรมทเกดขนเปนความจริง ซงผลกระทบดานการปลกฝงถกขยายผลมากขนจากความสอดคลองของภาพท ี่
i
ปรากฏทางโทรทัศนQกับประสบการณQในชีวิตจริง (Resonance) สำหรับผู:ชมหญิงอาจได:รับผลกระทบด:านการปลูกฝง
ความคิดมากกวEาเพราะมีความเสี่ยงและมีแนวโน:มที่จะตกเปUนเหยื่อของอาชญากรรมมากกวEา
การปลูกฝiงไมEวEาจากวิธี Mainstreaming หรือ Resonance กEอให:เกิดผลกระทบ 2 ระดับ ผลกระทบระดับแรก
ึ่
หมายถึง การเรียนรู:ข:อเท็จจริงจากสื่อ เชEน สัดสEวนของคูEแตEงงานที่จบลงด:วยการหยEาร:าง ความรุนแรงในครอบครัว ซง
ผลกระทบระดับแรกนี้เปUนการเรียนรู:ข:อเท็จจริงจากสื่อ สEวนผลกระทบระดับที่สองเปUนการเรียนรู:คEานิยมและขอ
:
สันนิษฐานจากสื่อ ซึ่งเปUน “สมมติฐานเกี่ยวกับประเด็นและข:อสันนิษฐานทั่วไป” ที่คนได:สร:างขึ้น คำถามตEาง ๆ เชEน คณ
ุ
คิดวEาคนโดยทวไปมความซอสตยหรือไม คณคดวEาควรใหอำนาจแกตำรวจมากขนเพอชวยลดจำนวนอาชญากรหรือไม เปน
ิ
E
ึ
้
ื
E
:
่
่
ื
ั
U
ี
่
ั
E
ุ
Q
E
ตัวอยEางของผลกระทบในระดับที่สอง (West and Turner, 2010)
ู
ี
E
:
i
ุ
ิ
:
ั
ี
ั
Gerbner ใหขอสงเกตประเดนสำคญท่เพ่มผลกระทบในดานการปลกฝงวา ภาพความรนแรงท่ไดชมทางโทรทัศน Q
:
็
:
ี่
มีลักษณะรวดเร็ว ไมEเจ็บ และนำไปสูEตอนจบแบบมีความสุข ซึ่งเปUนการแสดงให:เห็นวEาความรุนแรงเปUนทางออกทแก:ไข
ปiญหาไดโดยปราศจากผลลัพธQทางลบ ซึ่งทำให:ผู:ชมโดยเฉพาะเยาวชนได:รับการปลูกฝiงวัฒนธรรมการใช:ความรุนแรงและ
:
มองวEาความรุนแรงเปUนพื้นฐานของอำนาจและทางออกของปiญหาตEาง ๆ
นอกจากนี้ ถึงแม:วEาการปลูกฝiงจะเปUนผลกระทบของการชมโทรทัศนQ แตEมีปiจจัยที่สEงผลตEออิทธิพลด:านการ
ปลูกฝiง ปฏิสัมพันธQในสังคมขณะเปóดรับสื่อก็มีผลตEอการยอมรับความจริงที่เสนอผEานโทรทัศนQ เชEน เยาวชนที่รับชม
โทรทัศนQกับผู:ปกครองจะได:รับผลกระทบจากภาพที่นำเสนอทางโทรทัศนQน:อยกวEาเยาวชนที่ไมEได:พูดคุยกับผู:ปกครอง
ในขณะเปóดรับชม นักวิจัยเรื่องการปลูกฝiงชี้วEาการชมโทรทัศนQเปUนเพียงปiจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบตEอการรับรู:ความจรง
ิ
(Littlejohn, Foss, and Oetzel, 2017)
งานวิจัยตามทฤษฎีการปลูกฝìง
Patrick Jamieson และ Daniel Romer วิจัยผลกระทบของโทรทัศนQตEอความคิดวEาโลกอันตรายและนEากลว
ั
(Mean-world syndrome) โดยวิเคราะหQจำนวนพฤติกรรมความรุนแรงทางละครโทรทัศนQตั้งแตEปÅ ค.ศ.1972-2010 ผล
E
พบวEาความรุนแรงในละครโทรทัศนQมีความสัมพันธQกับความกลัวอาชญากรรม อยางไรก็ตาม ไมEพบวEาความรุนแรงทาง
โทรทัศนQทำนายถึงการรับรู:อัตราการเกิดอาชญากรรมในท:องถิ่น ซึ่งผลวิจัยนี้ไมEสอดคล:องกับแนวคิดเรื่องความคิดวEาโลก
อันตรายหรือ mean-world syndrome แตEอัตราอาชญากรรมในประเทศทำนายได:ถึงการรับรู:อัตราของอาชญากรรมใน