Page 162 -
P. 162
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
์
ิ
ั
ิ
ุ
156
ชีวิตประจำวัน เชEน “ในสัปดาหQหนึ่ง โอกาสที่คุณจะต:องเกี่ยวพันกับความรุนแรงมีเทEาใด 1 ใน 10 หรือ 1 ใน 100” (3)
ู
ั
Q
้
ั
การสำรวจผู:รบสาร โดยนำคำถามในขั้นตอนที่ 2 ไปถามผรบสาร และถามถงระดบการเปดรบเนอหาทางโทรทศน และ (4)
ั
:
ั
ึ
ื
ó
ั
ู
ั
ั
E
การเปรียบเทียบความแตกตางของความจริงทางสงคมของกลEมผ:ชมโทรทศนมาก และกลEมผ:ชมโทรทศนนอย เชน คำตอบ
ั
ู
Q
ุ
ุ
E
Q
:
เกี่ยวกับโอกาสที่จะเกี่ยวพันในความรุนแรงของกลุEมผู:ชมมากและกลุEมผู:ชมน:อยเหมือนหรือแตกตEางกันอยEางไร
Gerbner มองวEากระบวนการปลูกฝiงวEาเกิดขึ้นทีละน:อยผEานเนื้อหาทางโทรทัศนQที่ผู:ชมได:เปóดรับสะสมอยEาง
ี
ั
่
้
ื
ตEอเนื่อง ดังนั้น Gerbner จึงไมEใชEการวิจัยเชิงทดลองเหมือนนกวิจัยหลายคนทศึกษาผลกระทบของเนอหาความรุนแรงจาก
โทรทัศนQที่มีตEอพฤติกรรมความก:าวร:าว เพราะเห็นวEาการทดลองไมEสามารถตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม
อิทธิพลของสื่อในการปลูกฝiงเกิดขึ้นในชEวงหลายเดือนหรือหลายปÅ แตEการวิจัยเชิงทดลองสEวนใหญEวัดการเปลี่ยนแปลงท ี่
เกิดขึ้นภายใน 30 หรือ 60 นาที จึงเปUนเหตุผลที่การวิเคราะหQการปลูกฝiงใช:การวิจัยเชิงสำรวจแทนการวิจัยเชิงทดลอง
(Griffin et al., 2015)
ข:อสันนิษฐานของ Gerbner คือ ผู:ชมทีวีมากมีแนวโน:มมากกวEาผู:ชมน:อยที่จะเห็นโลกสังคมเหมือนกับโลกท ี่
ั
โทรทัศนQได:นำเสนอ กลยุทธQในการทดสอบแนวคิดนี้ คือ การสำรวจผู:ตอบด:วยคำถาม 2 ประเภท ได:แกE การเปóดรบ
โทรทัศนQเพื่อให:สามารถแยกประเภทผู:ชมออกเปUนกลุEมผู:ชมมาก (Heavy viewers) และกลุEมผู:ชมน:อย (Light viewers)
และการรับรู:ความเปUนจริงทางสังคม คำตอบ 2 สEวนนำมาวิเคราะหQสหสัมพันธQเพื่อดูวEากลุEม Heavy viewers รับรู:วEาโลก
เปUนสถานที่ที่นEากลัวมากกวEากลุEม Light viewers หรือไมE
ี่
ื
Gerbner กำหนดให:จำนวนชั่วโมงชมโทรทัศนQสูงสุดในกลุEมผู:ชมน:อยอยูEท 2 ชั่วโมงตEอวัน สEวนกลุEมผู:ชมมาก คอ
E
็
E
ึ
U
ุ
ี
ั
มีการชมตั้งแตE 4 ชั่วโมงขึ้นไปตEอวัน จากการวิจยพบวEามผ:ชมมากมากกวEาผ:ชมนอย อยางไรกตาม แตละกลEมเปนหน่งในส ี่
ู
:
ู
ของประชาชนทั่วไป สEวนอีกครึ่งหนึ่งมีการเปóดรับระหวEาง 2-4 ชั่วโมง
การวิเคราะหQการปลูกฝiงทำนายวEากลุEมผู:ชมโทรทัศนQมากและกลุEมผู:ชมโทรทัศนQน:อยมการรับรู:ความจริงแตกตEาง
ี
กัน ผู:ชมโทรทัศนQมากมองโลกวEามีความโหดร:ายนEากลัวมากกวEากลุEมที่ชมโทรทัศนQน:อย ผลการวิเคราะหQพบวEาจำนวน
ชั่วโมงการชมโทรทัศนQเปUนตัวทำนายคำตอบของผู:รับสารได:ดีที่สุด ซึ่งทำนายได:มากกวEาคุณลักษณะทางประชากร เชน
E
รายได: การศึกษา
Gerbner อธิบายวEาผู:ชมโทรทัศนQมากมแนวโน:มที่จะมองวEาโลกเปUนสถานที่ที่เต็มไปด:วยอันตรายมากกวEาผู:ชม
ี
น:อย ผู:ชมที่มีการศึกษาและมีสถานะทางการเงินดีกวEาโดยทั่วๆไปจะมองวEาโลกนEากลัวน:อยกวEาผู:ที่มีการศึกษาและรายได :
น:อยกวEา แตEในการทดสอบอิทธิพลของโทรทศนQ นักวิจัยอธิบายวEาผู:ชมโทรทศนQมากจากกลมที่มีการศึกษาและสถานภาพ
ั
ั
ุE
ทางการเงินดีมองวEาโลกอันตรายพอ ๆ กันกับผู:ชมที่มีรายได:และการศึกษาน:อย กลEาวคือ ผู:ชมโทรทัศนQมากมีการรับรู:โลก
ตามกระแสหลักวEาโลกมีความโหดร:าย ไมEวEาปiจจัยด:านการศึกษาและรายได:จะเปUนอยEางไร แสดงให:เห็นวEาเนื้อหาทาง
โทรทัศนQเปUนปiจจัยสำคัญในการสร:างความจริงทางสังคมให:แกEผู:ชมมาก ไมEวEาผู:ชมจะมีทางคุณลักษณะทางประชากร
อยEางไร (West and Turner, 2010)
Gerbner และคณะระบุถึงประเด็นอื่น ๆ ที่ผู:ชมสองกลุEมมีการรับรู:แตกตEางกัน ซึ่งรวมถึงความเชื่อเกี่ยวกับโอกาส
ในการเกี่ยวพันกับอาชญากรรมที่มีความรุนแรง ความกลัวอันตรายเมื่อต:องเดินในตอนกลางคืน การรับรู:เรื่องการบังคับใช :
กฎหมาย ผลการศึกษาพบวEา ผู:ที่ชมโทรทัศนQน:อยเชื่อวEาโอกาสเปUนเหยื่ออาชญากรรมมี 1 ใน 100 ในขณะที่ผู:ที่ชม