Page 157 -
P. 157

ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                                             ั
                                                             ิ
                                  ิ
                               ื
                                              ์
                                           ิ
                                                                                     ุ
                                                                                                           151

                       อีกปiจจัยที่สEงผลตEอพฤติกรรม คือ ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) ซึ่งเปUนความสามารถในการปฏิบัต ิ
               และความมั่นใจในการแสดงพฤติกรรม (Bandura, 2001) ถ:าบุคคลไมEรับรู:ถึงความสามารถของตนเอง ก็มักจะไมEม ี
               พฤติกรรมที่ได:เรียนรู:จากต:นแบบ เชEน ถ:าบุคคลทำอาหารไมEเปUนเลย หลังจากดูรายการทำอาหารแล:ว ก็ไมEมีแนวโน:มที่จะ
               ทำอาหารตามที่เรียนรู:จากเชฟทางสื่อ ทั้งนี้ เพราะการขาดความสามารถของตนเอง


                       แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการรู,คิดทางสังคม


                                                                                                            E
                       ทฤษฎีการรู:คิดทางสังคมของ Bandura (1977) ถูกใช:อยEางกว:างขวางในการศึกษาอิทธิพลของสื่อที่มีตอ
               พฤติกรรม โดยเฉพาะอยEางยิ่งใช:ในการศึกษาความสัมพันธQระหวEางการใช:สื่อกับพฤติกรรมความรุนแรง ทฤษฎีนี้ตรงข:ามกับ
                                                ั
               ทฤษฎีการปลูกฝiงที่ทำนายวEาการชมโทรทศนQมากบิดเบือนทัศนคติและการรับรู:ของเกี่ยวกับความจริงทางสังคม ในขณะท ี่
                                                                                                            ิ
               ทฤษฎีการรู:คิดทางสังคมชี้วEาสื่อมีอิทธิพลตEอพฤติกรรมผEานการเรียนรู:จากการสังเกต แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการรู:คด
               ทางสังคมมีดังน (Dainton and Zelly, 2015)
                           ี้
                       (1)  ในขณะที่ทฤษฎีการเรียนรู:ทางสังคมสามารถประยุกตQใช:ได:กว:างขวาง แตEทฤษฎีการรู:คิดทางสังคมของ

                          Bandura อธิบายเฉพาะอิทธิพลของสื่อมวลชนตEออัตลักษณQทางวัฒนธรรม Bandura (2001) สนใจความ

                          แพรEหลายของสื่อมวลชนและการสร:างความจริงทางสังคมเชEนเดียวกันกับ Gerbner โดยอธิบายวEาโทรทัศน Q
                          มีอิทธิพลในการวางรูปแบบทัศนะเกี่ยวกับโลกทางสังคม
                       (2)  บุคคลมีความสามารถในการสะท:อนตนเอง (Self-reflect) (Bandura, 2001) กลEาวคือ มนุษยQไมEได:เปUนเพยง
                                                                                                           ี
                          ผู:กระทำ (Actors) เทEานั้น แตEยังเปUนผู:ตรวจสอบตนเอง (Self-examiners) เกี่ยวกับพฤติกรรมตนเองด:วย
                                                                                                           ุ
                          บุคคลสามารถสะท:อนตนเองทั้งอยEางเที่ยงตรงและบิดเบือนเกี่ยวกับความเหมาะสมของพฤติกรรมของคณ
                          ซึ่งคุณภาพของการสะท:อนตนเองขึ้นอยูEบางสEวนกับกระบวนการให:เหตุผลแบบนิรนัย ข:อมูลที่ใช:ในการ
                          ประเมิน และอคติสEวนตัวของบุคคล

                                               :
                       (3)  มนุษยQเรียนรพฤติกรรมไดจากการสังเกตต:นแบบ (Modeling) เราสามารถเรียนรู:เกี่ยวกับความสัมพันธ  Q
                                     ู:
                          บรรทัดฐานทางสังคม และพฤติกรรมที่เปUนที่ยอมรับโดยการสังเกตการกระทำของผู:อื่นและผลกระทบท ี่
                          ตามมา Bandura อธิบายวEาการเรียนรู:จากประสบการณQของผู:อื่น (Vicarious observation)  หรือการ
                          เรียนรู:จากการสังเกต (Observational modeling) ชEวยประหยัดเวลาและความอึดอัดรวมทั้งอันตรายจาก
                          การลองผิดลองถูกเอง การเรียนรู:ผEานการสังเกตประสบการณQของผู:อื่นตรงข:ามกันกับการเรียนรู:แบบ

                          คลาสสิกซึ่งเปUนการเรียนรู:ผEานการกระทำแบบลองผิดลองถูกโดยการปรับพฤติกรรมของตนเอง การเรียนร ู:
                                                                       ั
                                                                               E
                                                                                                         ี
                                                                                             ั
                                                                                             ้
                                                                                     ่
                                                                                     ื
                                                  :
                                                  ู
                          ผEานการสังเกต เชEน การเรยนรเรองการเลยงเดกจากการสงเกตจากพอแมE เพอน รวมทงจากสื่อ ทฤษฎการร ู:
                                               ี
                                                    ่
                                                          ี
                                                              ็
                                                    ื
                                                          ้
                          คิดทางสังคมอธิบายวEาคนเราสามารถเรียนรู:จากการดูสิ่งที่ผู:อื่นทำ (และไมEทำ) และสังเกตปฏิกิริยาของคน
                          อื่นตEอการกระทำนั้น เพื่อพิจารณาวEาจะเลียนแบบหรือละเว:นพฤติกรรมใด
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162