Page 158 -
P. 158

์
                                  ิ
                                           ิ
                                                                             ั
                                                                                     ุ
                                                             ิ
                               ื
                                                 ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                                                                           152

                          กระบวนการเรียนรู,แบบสังเกต

                                                                                                            ิ
                          การเรียนรู:จากการสังเกตมี 4 องคQประกอบ ได:แกE ความสนใจ (attention) การจดจำ (retention) การผลต
               ซ้ำ (reproduction) และการจูงใจ (motivation) ดังแผนภาพ 9.2  (Bandura, 2001, อ:างถึงใน Dainton and Zelly,

               2015)


                          ความสนใจ          การจดจำ              การผลตซMา            กการจูงใจ

                                                                       ิ
                                                                         ํ

                                              แผนภาพที่ 9.2: การเรียนรู,จากการสังเกต


                          (1) ความสนใจ (Attention) การเรียนรู:จะไมEเกิดขึ้นถ:าไมมีการสังเกตและให:ความสนใจกับพฤติกรรม
                                                                          E
                              Bandura (2001) เสนอวEาการให:ความสนใจถูกกำหนดโดยทั้งคุณลักษณะของผู:สังเกตและการจด
                                                                                                            ั
                              ระเบียบพฤติกรรม กลEาวคือ ผู:สังเกตจำเปUนต:องมีความสนใจ และการกระทำก็ต:องมีคุณคEาตEอการ

                                                                                                            ิ
                              สังเกต สื่อจึงพยายามดึงความสนใจของผู:รับสารด:วยวิธีการตEาง ๆ เชEน การใช:เพลงยอดนิยม เทคนค
                              พิเศษ เสียงประกอบ สีสัน รวมถึงอาจมีการใสEเนื้อหาความรุนแรงและเพศ เปUนต:น

                          (2) การจดจำ (Retention) การเรียนรู:ผEานการสังเกตต:นแบบไมEไดมีแตEด:านลบ แตมีด:านบวกหลาย
                                                                                  :
                                                                                                E
                                       E
                                                                                                        ี
                                                                                                           ู
                              ประการ เชน เราสามารถเรียนรู:วิธีการทำอาหารโดยการชมคลิปวิดีโอทางยูทูบ มนุษยQสามารถเรยนร:ได :
                                                                                     :
                                                                                     ู
                                                                                 ี
                              โดยไมตองมการลงมือกระทำหรอแสดงพฤติกรรมด:วยตัวเอง การเรยนรมาจากการเกบภาพและคำพดท ี่
                                                                                                           ู
                                                                                               ็
                                    :
                                       ี
                                   E
                                                      ื
                              นEาสนใจ นั่นคือ กระบวนการจดจำทำให:สามารถเรียนรู:จากการสังเกตพฤติกรรมได: การเรียนรู:ผEานการ
                              สังเกตเปUนกระบวนการรู:คิด (Cognitive process) ที่บุคคลได:สังเกต จัดระเบียบ จดจำ และฝöกซ:อม
                              พฤติกรรมนั้นในใจ (Bandura, 1977)
                                                                                                            E
                          (3) การผลิตซ้ำพฤติกรรม ในการมีพฤติกรรมตามต:นแบบ บุคคลต:องมีทักษะการเคลื่อนไหวที่จำเปUนตอ
                                                                                                            ั้
                              การผลิตซ้ำพฤติกรรม Bandura (1977) อธิบายวEากระบวนการผลิตซ้ำ (Reproductive process) นน
                              บุคคลสามารถแสดงพฤติกรรมใหมตามที่ได:เรียนรู:จากต:นแบบ มีการปรับและแก:ไขการกระทำของ
                                                          E
                              ตนเองโดยอาศัยปฏิกิริยาตอบกลับ มีการประเมินและปรับพฤติกรรมไปตามสถานการณQ
                          (4) การจงใจ (Motivational processes) กระบวนการสดทายของการเรียนรู:ผานการสงเกต คอ การจง ู
                                                                                                      ื
                                                                                                ั
                                                                                          E
                                                                         ุ
                                                                           :
                                  ู
                              ใจ จากการสังเกตไปสูEการกระทำต:องมีความสามารถในการทำซ้ำพฤติกรรม รวมทั้งความต:องการหรอ
                                                                                                            ื
                              แรงจูงใจที่จะมีการกระทำตามที่ไดเรียนรู: กระบวนการจูงใจมีแรงบันดาลใจจากสิ่งจูงใจ 3 ประเภท คอ
                                                                                                            ื
                                                         :
                              (1) สิ่งจูงใจโดยตรง (Direct motivation) จะเกิดขึ้นเมื่อบคคลรบรู:ถึงรางวัลจากพฤตกรรมตนแบบท่ได :
                                                                               ั
                                                                                               ิ
                                                                           ุ
                                                                                                           ี
                                                                                                     :
                                      E
                              สังเกต แตถ:ามีการรับรู:ถึงการลงโทษจะทำให:แรงจูงใจที่จะกระทำสิ่งนั้นลดน:อยลง (2) สิ่งจูงใจจากคน
                              อื่น (Vicarious motivation) เกิดขึ้นเมื่อบุคคลถูกกระตุ:นจูงใจจากความสำเร็จของผู:อื่นที่มีความ
                              คล:ายคลึงกับตนเอง ในทางกลับกัน คนจะยับยั้งการกระทำเมื่อเห็นผลลัพธQทางลบจากผู:อื่น และ (3)
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163