Page 139 -
P. 139

ิ
                                           ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                               ื
                                              ์
                                                                             ั
                                                                                     ุ
                                                 ิ
                                                             ิ
                                                                                                           133

                       ความพึงพอใจของผู,รับสารและผลกระทบของสื่อ

                       McQuail and Windahl (1981) ได:ผสมผสานทฤษฎีการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจกับผลกระทบสื่อ เปน
                                                                                                            U
                                                                                                            ั้
               “แบบจำลองการใช:ประโยชนQและผลกระทบ” (Uses and effects model) ที่อธิบายวEาความพึงพอใจด:านตEาง ๆ ทง
                                                                                                            ื่
               ความพึงพอใจที่ได:รับและความพึงพอใจที่แสวงหามีความสัมพันธQกับผลกระทบของสื่อ ทั้งด:านความรู: การพึ่งพาสอ
               ทัศนคติ การรับรู:ความจริงทางสังคม การกำหนดวาระขEาวสาร เชEน การใช:สื่อเพื่ออัตลักษณQสEวนบุคคลมีแนวโน:มที่จะ

               สEงเสริมผลกระทบสื่อในด:านการให:แรงเสริม (Reinforcement effect)
                                                            Q
                       Katz และคณะ (1974) อธิบายวEา “สถานการณทางสังคม” ของผู:รบสารทำให:เกิด “ความต:องการที่เกี่ยวข:องกบ
                                                                          ั
                                                                                                            ั
               สื่อ” (Media-related needs) ใน 5 ทาง ดังนี้
                       (1) สถานการณQทางสังคมทำให:เกิดความตึงเครียดและความขัดแย:ง นำไปสูEความกดดันในการปลดปลEอย

               ความเครียดด:วยการบริโภคสื่อ นั่นคือ เหตุการณQตEาง ๆ ในโลกผลักดันให:ผู:รับสารแสวงหาสื่อและเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจง
               เชEน ในปÅ 2020-2022 เกือบทุกคนพูดคุยเกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรนEา ทุกสื่อให:ข:อมูลเกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรนEาและปiญหาท ี่
               เปUนผลมาจากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนEา ซึ่งเปUนสถานการณQทางสังคมที่สร:างความตึงเครียด

                                   Q
                                                            ู
                                                            :
                       (2) สถานการณทางสังคมทำให:เกิดการตระหนักรปiญหาที่ต:องให:ความสนใจ จึงมีการแสวงหาข:อมูลจากสื่อ สังคม
               โลกมีเหตุการณQและประเด็นปiญหาที่ทำให:เราตระหนักถึงความสำคัญ และเราสามารถค:นหาข:อมูลผEานสื่อ เชEน ใน
                                                                                                            ั
               สถานการณQการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนEา ทุกคนพูดคุยเกี่ยวกับผลกระทบของการระบาดและวัคซีนป©องกัน ทำให:ผู:รบ
                                    ั
               สารตระหนักถึงความสำคญของปiญหา จึงมีการเปóดรับสื่อเพื่อให:ได:รับข:อมูล มุมมอง และการวิเคราะหQประเด็นปiญหา
               ดังกลEาว

                                                                                     ่
                                                                                     ื
                                                                               ิ
                                                                           ี
                                                                            ิ
                                                                                                      U
                                                                                                        ั
                                                                                                    ี
                                                                                                  :
                                                                                                    ่
                                                                   :
                       (3) สถานการณทางสังคมทำให:ลดโอกาสการสนองความตองการในชวตจรง และสอสามารถทำหนาทเปนตวแทน
                                   Q
                                                                                                            U
               หรือชEองทางที่ทดแทนโอกาสที่หายไปได: กลEาวคือ บางครั้งสถานการณQของผรับสารทำให:สื่อเปUนทางเลือกที่ดีสุดหรือเปน
                                                                           ู:
               แหลEงสารเดียวที่มีอยูE เชEน ในสถานการณQที่ไมEสามารถไปสอบถามหรือพูดคุยกับแพทยQหรือนักวิเคราะหQผลกระทบด:วย
                                                           ี้
               ตนเอง ทำให:ต:องพึ่งพาสื่อในการสนองความต:องการน ดังเชEนงานของ Nupur Tustin (อ:างถึงใน Floyd et al.,2016)
               ศึกษาการแสวงหาข:อมูลข:อผู:ปèวยจากแหลEงขEาวสารสุขภาพ โดยมีข:อสันนิษฐานวEาความต:องการของผู:ปèวยกำหนดวิธีการ
               และแหลEงสารในการแสวงหาข:อแนะนำและข:อมูลขEาวสารทางด:านการแพทยQ เชEน ผู:ปèวยโรคมะเร็งไมEพอใจกบ
                                                                                                            ั
                          Q
                                                                              Q
               ความสัมพันธที่มีกับผู:เชี่ยวชาญด:านโรคมะเรง ผู:ปèวยอาจค:นหาข:อมูลทางอินเทอรเน็ตในฐานะเปUนแหลEงหลักของข:อมูล ยง ิ่
                                                  ็
               ผู:ปèวยรู:สึกไมEพอใจกับแพทยQหรือผู:เชี่ยวชาญ ก็ยิ่งไปค:นหาข:อมูลสุขภาพทางอินเทอรQเน็ตมากขึ้น ดังนั้น ผู:ปèวยใช :
               อินเทอรQเน็ตเพื่อสนองความต:องการด:านข:อมูลเมื่อแพทยQสนองความต:องการทางข:อมูลไมEได:
                                                                                                            ิ
                       (4) สถานการณQทางสังคมทำให:เกิดคEานิยม และการบริโภคเนื้อหาสื่อชEวยสEงเสริมคEานิยมหรือเปUนแรงเสรม
               คEานิยมที่ยึดถือ สื่อนำเสนอเนื้อหาที่เปUนการยืนยันความรู:และการตระหนักรู:สิ่งที่ผู:รับสารให:คุณคEา
                        (5) สถานการณQทางสังคมต:องการความคุ:นเคย (Familiarity) กับสื่อเพื่อเปUนการรักษาสมาชิกภาพในกลุEมสังคม
               เชEน ในฐานะนักศกษามหาวิทยาลัยที่ถูกมองวEาเปUนอนาคตของประเทศ ไมEเพียงแตEควรมีความคิดเห็นตEอการจัดการ
                              ึ
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144