Page 138 -
P. 138

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                              ์
                                                             ิ
                                  ิ
                               ื
                                           ิ
                                                 ิ
                                                                                     ุ
                                                                             ั
                                                                                                           132

               ปฏิสัมพันธQทางสังคม (Social interaction) ความบันเทง (Entertainment) และการหลบหนี (Escape) Ferguson และ
                                                           ิ
                                                                                                       ื
                                                      E
                                                                             ็
                                                                                                    E
                               E
                                                                     E
                                          ็
               Perse (2000) พบวานักศึกษาใชเวบไซตQสวนใหญเพื่อความบันเทิง เลนเกม ซงเวบไซตQอาจจะมีบทบาทมากกวาหรอเขามา
                                                E
                                                                           ่
                                                                                                          :
                                         :
                                                                           ึ
               แทนที่โทรทัศนQ โทรทัศนQจึงต:องมีการเผยแพรEเนื้อหาทางสื่อออนไลนQด:วย งานวิจัยที่ศึกษากับผู:ใช:สื่อสังคมพบวEามีการใช:สื่อ
               สังคมเพื่อประโยชนQตEาง ๆ ตามความต:องการที่ระบุข:างต:น และยังรวมถึงความสะดวกและการแสดงความคิดเห็น และเฟ
               ซบุ†กเปUนสื่อสังคมที่ถูกกลEาวถึงมากที่สุดในงานวิจัย (Whiting and Williams, 2013)

                       ความสัมพันธ@กึ่งความจริง (Parasocial Relationships)

                       ความสัมพนธกึ่งความจริง หมายถึง ความรู:สึกถึงมิตรภาพหรือความผูกพนทางอารมณระหวEางผู:รับสารกับบุคคล
                                                                               ั
                               ั
                                 Q
                                                                                         Q
                                                                                               ี้
               ในสื่อ เชEน ตัวละคร นักจัดรายการวิทยุ ผู:มีอิทธิพลทางสื่อออนไลนQ (Influencers) ความสัมพันธQนวัดได:จากคำถาม
               เกี่ยวกับความเกี่ยวพันกับบุคคลในสื่อ อาทิ การหาข:อเสนอแนะจากบุคคลในสื่อ ความรู:สึกเปUนเพื่อน การจินตนาการถึง
               การเปUนสEวนหนึ่งของสังคมในเนื้อหาสื่อที่เปóดรับ ความต:องการพบกับบุคคลในสื่อ
                                                Q
                        มีงานวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธกึ่งความจริงและผลกระทบของขEาวที่มีตEอผู:ชม โดยศึกษาเปรียบเทียบระหวEาง
               นักศึกษาที่มีปฏิสัมพันธQกึ่งความจริงกับ Magic Johnson นักบาสเกตบอลชาวอเมริกันกับนักศึกษาที่เพียงแคEรู:จักชื่อของ
               Magic Johnson รายงานขEาวเรื่อง Johnson ติดเชื้อเอดสมีผลตEอนักศึกษา 2 กลุEมแตกตEางกัน สำหรับนักศึกษาที่ม ี
                                                              Q
                          Q
                                  ิ
               ความสัมพันธกึ่งความจรงกับ Johnson มีความกังวลกับโรคเอดสQและมีความตั้งใจที่จะลดพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงตEอการ
               ติดเชื้อมากกวEา แตEขEาวดังกลEาวไมEได:มีผลอะไรตEอกลุEมนักศึกษาที่แคEรู:จักหรือได:ยินชื่อ Johnson เทEานั้น
                       Li Li, Yea-Wen Chen และ Masato Nakazawa ศึกษาความพึงพอใจที่ผู:รับสารได:รับจากรายการโทรทัศน  Q
               Prison Break ในประเทศจีน โดยใช:การวิเคราะหQเนื้อหาโพสตQบนสื่อออนไลนQ ผลพบวEา ผู:รับสารได:รับความพึงพอใจใน

                    ี
                                                                                                  ึ
               การมปฏิสัมพันธQแบบกึ่งความจริง เชEน การพูดคุยกับตัวละครในรายการโทรทัศนQ นอกจากนี้ ยังพบความพงพอใจอื่นด:วย
                                                                ั
                                                                                           ี
                                                                                               ั
                                                                                                          ึ
                                                                                  ื
                                                                        ั
                                                                            E
                                                                                  ่
                                                          ิ
                              ู
                           :
                                      ่
                                E
               เชน การไดรบขอมลขาวสารทวไป การตระหนกถงคานยมของตวละครหลก เชน การชนชมความดของตวละคร การศกษา
                 E
                         ั
                        :
                                                   ั
                                                     ึ
                                                       E
                                      ั
               นี้เปUนการวิเคราะหQรางวัลที่ผู:บริโภคสื่อสะท:อนผEานการแสดงความคิดเห็นกี่ยวกับรายการโทรทัศนQทางสื่อออนไลน  Q
               (Littlejohn et al., 2017)
                       ประเด็นเกี่ยวกับความสัมพันธกึ่งความจรงได:รบความสนใจในการศึกษาจากนักวจย เชEน อิทธพลของเร่องอื้อฉาว
                                                                                     ั
                                                                                              ิ
                                                                                                      ื
                                                          ั
                                                                                    ิ
                                                      ิ
                                              Q
               ที่มีตEอปฏิสัมพันธQกึ่งความจริง อิทธิพลของปฏิสัมพันธQกึ่งความจริงที่มีตEอคุณคEาตราสินค:า บทบาทของความนEาเชื่อถือและ
               ความยุติธรรมของอินฟลูเอนเซอรQทางสื่อสังคมออนไลนQที่มีตEอปฏิสัมพันธกึ่งความจรงและความสนใจในสินค:า บทบาทของ
                                                                                ิ
                                                                       Q
                                                                                                            E
               ปฏิสัมพันธQกึ่งความจริงที่มีตEอการตลาดทางสื่อสังคมกับกลุEมเบบี้บูมเมอรQ อิทธิพลของคุณลักษณะทางบุคลิกภาพที่มีตอ
               ปฏิสัมพันธQกึ่งความจริงกับนักกีฬาที่มีชื่อเสียง การสร:างปฏิสัมพันธQกึ่งความจริงในชุมชนออนไลนQ
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143