Page 140 -
P. 140

์
                                                 ิ
                                                             ิ
                                           ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                               ื
                                  ิ
                                                                             ั
                                                                                     ุ
                                                                                                           134

               สถานการณQโรคระบาดของรัฐบาลแล:ว ก็ควรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำงานของสื่อในชEวงวิกฤตนี้ด:วย การขาดความ
               คิดเห็นตEอประเด็นปiญหาอาจทำให:ถูกมองวEาเปUนผู:ขาดข:อมูลขEาวสาร

                       การใช,ประโยชน@และความพึงพอใจตsอสื่อใหมs


                                                                                                            ื่
                       นักวิจัยได:ขยายการวิจัยการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจไปสูEสื่อเว็บไซตQและสื่อใหมE พฤติกรรมการเปóดรับสอ
               โทรทัศนQของคนในสังคมลดลง  หลายคนชมวิดีโอและฟiงเพลงทางสื่อออนไลนQ
                       Leung and Wei (2000) ศึกษาการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจตEอโทรศัพทQมือถือ โดยตั้งคำถามวEาเพราะเหต ุ

               ใดคนจึงใช:โทรศัพทQมือถือและเหตุผลในการใช:แตกตEางไปจากการใช:โทรศัพทQบ:านหรือไมE นอกจากนี้ Leung and Wei
               สังเกตวEาโทรศัพทQมือถือใหมEได:หลอมรวมเทคโนโลยีใหมEและลบเส:นแบEงระหวEางโทรคมนาคมกับอุตสาหกรรมกระจายเสียง

               ผลการวิจัยพบวEาทฤษฎีการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจสามารถอธิบายการใช:โทรศัพทQมือถือได:
                       คำถามสำหรับนักวิจัยทางด:านการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจ คือ แรงจูงใจของผู:รับสารในการใช:สื่อใหม E
                                                    ั
                                                  E
                                                      ิ
                                                       ั
                           ู
                                         ั
               เหมอนกบแรงจงใจในการใชส่อด้งเดมหรอไม นกวจยตองการเขาใจถงเหตผลสวนตวและเหตผลทางสงคมในการใชส่อใหม  E
                                           ิ
                                     :
                                      ื
                                               ื
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                                                            E
                                                                                                         ื
                                                                                                       :
                                                                                             ั
                      ั
                                                                :
                                                         :
                                                                        ุ
                                                                    ึ
                   ื
               ของผู:รับสาร
                                                                                                       ื่
                       Raacke และ Bonds-Raacke (2008) อธิบายการใช:เว็บไซตQเครือขEายสังคมเพื่อสร:างความสัมพันธQกับเพอนใหม E
               และการติดตEอกับเพื่อนเกEาอีกครั้ง  Song, LaRose, Eastin, และ Lin (2004) พบความสัมพันธQระหวEางความพึงพอใจ (ท ี่
               แสวงหาและที่ได:รับ)กับการใช:อินเทอรQเน็ต สEวน Diddi และ LaRose (2006) พบวEาความต:องการในด:านข:อมูลขEาวสาร
               และการหลบหนีสังคมเปUนตัวทำนายถึงการบริโภคขEาวสารทางอินเทอรQเน็ต Chen (2011) ประยุกตQใช:ทฤษฎีการใช :
               ประโยชนQและความพึงพอใจกับการใช:ทวิตเตอรQเพื่อวิเคราะหQความสัมพันธQระหวEางการใช:เวลากับทวิตเตอรQและความ
               ต:องการเชื่อมโยงกับผู:อื่น ซึ่งผลการวิจัยพบวEายิ่งบุคคลใช:เวลากับทวิตเตอรQมาก ก็จะยิ่งมีความรู:สึกสนิทสนมไว:วางใจ
               ระหวEางกัน (ความพึงพอใจที่แสวงหา) Wei และ Lu (2014) สำรวจเหตุผลในการเลEนเกมสQสังคมหรือเกมสQที่ต:องมีการ
               สร:างปฏิสัมพันธQกับผู:เลEนคนอื่น ๆ (Social games) ผลการวิจัยพบวEาความต:องการในด:านความเพลิดเพลินและ
               ปฏิสัมพันธQกับผู:อื่นเปUนตัวทำนายถึงความตั้งใจในการเลEนเกมสQสังคม
                       Sherry และคณะ พบด:วยวEาวัยรุEนเลEนวิดีโอเกมกับเพื่อนและเห็นวEาการเลEนวิดีโอเกมเปUนเวลาในการสร:าง
               ความสัมพันธQกับผู:อื่น สEวน Papacharissi and Rubin (2000) ศึกษาเรื่องการใช:อินเทอรQเน็ต ผลวิจัยพบวEาการแสวงหา
               ข:อมูลขEาวสารเปนแรงจูงใจสำคัญที่สุดในการใช:อินเทอรQเน็ต คนที่รับรู:คุณคEาตนเองใช:อินเทอรQเน็ตเพื่อหาข:อมูลขEาวสาร
                            U
               เปUนหลัก ในขณะที่คนที่รู:สึกไมEมั่นคงปลอดภัยในปฏิสัมพันธQแบบเห็นหน:าคEาตาใช:อินเทอรQเน็ตโดยมีแรงจูงใจทางสังคม
                       นอกจากแรงจูงใจในการแสวงหาข:อมูลขEาวสารแล:ว LaRose and Eastin (2004) พบวEาผู:รับสารคาดหวังวEาการ
               ใช:อินเทอรQเน็ตจะปรับปรุงชีวิตหลายด:าน และอินเทอรQเน็ตทำให:เกิดผลทางด:านสังคม ได:แกE สถานะทางสังคม อัตลักษณ  Q
                                                                                                            ั
               ผู:รับสารมีการสEงเสริมสถานภาพทางสังคมโดยค:นหาผู:ที่มีความคิดเหมือนกันผEานอินเทอรQเน็ต และแสดงความคิดเห็นกบ
               บุคคลเหลEานั้น อินเทอรQเน็ตจึงเปUนสื่อที่ผู:รับสารใช:ในการสำรวจและลองตัวตนในรูปแบบที่ปรับปรุงใหมE
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145