Page 136 -
P. 136

์
                                                                             ั
                                                                                     ุ
                                                 ิ
                                                             ิ
                                           ิ
                               ื
                                  ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                                                                           130

                       แรงจูงใจในการเปíดรับสื่อ

                       ทฤษฎีการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจอธิบายวEาคนบริโภคสื่อด:วยเหตุผลตEาง ๆ นานา ผู:รับสารมีความ
                            ั
               ต:องการที่จะได:รบความพึงพอใจจากสื่อ การเลือกใช:สื่อมาจากความคาดหวงถึงความพงพอใจที่จะได:รบจากสื่อ ดังนั้น การ
                                                                         ั
                                                                                             ั
                                                                                  ึ
               ใช:ประโยชนQและความพึงพอใจจึงมีความเชื่อมโยงกัน สำหรับความต:องการหรือแรงจูงใจในการเปóดรับมีหลายมุมมอง ดังนี้
                       McQuail (1987) อธิบายแรงจูงใจในการเปóดรับสาร 4 ประการ ดังนี้
                       (1) ความต,องการความบันเทิง (Entertainment) ผู:รับสารอาจเปóดรับสื่อเพราะต:องการผEอนคลายอารมณ  Q

                          หลบหนีจากปiญหาที่เผชิญในชีวิตประจำวัน มีความต:องการทางด:านอารมณQ อาทิ ความตื่นเต:น ความโรแมน
                          ติก ความสนุกสนาน รวมถึงการเปóดรับสื่อเพื่อฆEาเวลา

                       (2) ความต,องการข,อมูลขsาวสาร (Information) เปUนการเปóดรับสื่อเพื่อได:รับข:อมูลเกี่ยวกับเหตุการณQใน
                                        ี
                          ปiจจุบันและในอดต คำแนะนำ และเพื่อสนองตอบความอยากรู:อยากเห็น และความต:องการความมั่นคง
                          ปลอดภัยด:วยการได:รับความรู:ทั่วไป เชEน การฟiงวิทยุเพื่อให:ได:รับข:อมูลสภาพอากาศ การจราจร หรือขEาว
                          กีฬา การอEานขEาวทางอินเทอรQเน็ตเพื่อรู:ความเคลื่อนไหวและเหตุการณQที่เกิดขึ้น หรือการอEานบทความ

                          วิเคราะหQหุ:นเพื่อประโยชนQในการตัดสินใจเลือกซื้อหุ:น
                       (3) ความต,องการอัตลักษณ@สsวนตัว (Personal Identity) เปUนการใช:สื่อเพื่อสะท:อนหรือสนับสนุนอัตลักษณ Q

                          ตนเอง บุคคลสามารถเลือกรับเนื้อหาจากสื่อเพื่อชEวยสร:างหรือตอกย้ำทัศนคติหรือความเชื่อสEวนตัว บEอยครั้ง
                             ู:
                                                                                                            ั
                          ที่ผรับสารได:เข:าใจตัวตนที่แท:จริงของตนเองมากขึ้นจากการเปรียบเทียบตัวเองกับบุคลิกลักษณะของตว
                          ละครที่สื่อนำเสนอ นอกจากนี้ ผู:รับสารอาจนำสิ่งที่ได:เห็นได:อEานหรือฟiงจากสื่อมาเปUนแนวทางในการ
                                                                                         ี
                          สร:างอัตลักษณQของตนเอง อาทิ การแตEงกาย คEานิยม ทัศนคติ ไลฟûสไตลQการใช:ชวิต รวมถึงการใช:สื่อสังคม
                          ออนไลนQเพื่อสะท:อนอัตลักษณQตนเองผEานเนื้อหาและภาพที่นำเสนอ

                       (4) ความต,องการความสัมพันธ@ทางสังคม (Social Relations) เปUนการเปóดรับสื่อเพื่อชEวยให:ผู:รับสารได :
                                                                                         ั
                          เรียนรู:หรือสร:างความสัมพันธQกับผู:อื่น เชEน ผู:รับสารได:อEานบทสัมภาษณQเกี่ยวกบเคล็ดลับการเสริมสร:าง
                          ความสัมพันธQในครอบครัว และนำมาปรับใช:กับสถานการณของตนเอง นอกจากนี้ สื่อบางประเภททำหน:าท ี่
                                                                        Q
                          เปUนเพื่อนและแทนความสัมพันธQระหวEางบุคคลในชีวิตจริง รวมถึงการนำเนื้อหาจากสื่อไปเปUนหัวข:อในการ

                          สนทนากับบุคคลอื่นในชีวิตประจำวัน


                       Katz, Gurevitch, และ Hass (1973) อธิบายถึงความต:องการของผู:รับสาร 5 ประเภท ดังนี้

                       (1) ความต,องการด,านความคิด (Cognitive needs) เปUนความต:องการข:อมูลขEาวสาร ความรู: และความ

                          เขาใจ เชน การเปóดรบขEาวสารเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของราคาหุ:นในแตEละวันทางเว็บไซตQตลาดหลักทรพยQ
                                                                                                           ั
                                          ั
                            :
                                 E
                                                                       E
                                               ั
                          แหEงประเทศไทย การเปóดรบชมรายการสอนทำอาหารเช:างาย ๆ ทางยูทูบ การติดตามเพจสอนภาษาอังกฤษ
                          ทางเฟซบุ†ก
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141