Page 135 -
P. 135

ิ
                                                 ิ
                                                                                     ุ
                                                                             ั
                                              ์
                               ื
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                           ิ
                                  ิ
                                                                                                           129

               identity) และเพื่อสอดสEองสิ่งแวดล:อม (Surveillance)  Katz, Gurevitch, และ Haas (1973) แบEงเหตุผลในการใช :
               สื่อมวลชนออกเปUน 2 เหตุผลหลัก คือ เพื่อติดตEอกับผู:อื่น และเพื่อแยกตัวจากผู:อื่น
                           ขั้นที่สามของการวิจัยการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจเปUนการศึกษาความสัมพันธQของเหตุผลในการใช:สื่อ
                                                                                                     ่
                                                                                                     ื
               กับตัวแปรตEาง ๆ เชEน ความต:องการ เป©าหมาย ผลประโยชนQ ผลกระทบจากการใช:สื่อ และปiจจัยสEวนบุคคล เพอให:ทฤษฎ ี
               อธิบายและทำนายได:มากขึ้น Rubin และ Step (2000) ศึกษาความสัมพันธQของแรงจูงใจ การดึงดูดระหวEางบุคคล
               (Interpersonal attraction) และปฏิสัมพันธQกึ่งความจริง (Parasocial interaction) ซึ่งเปUนความสัมพันธQกับบุคคลในสอ
                                                                                                            ื่
               ในการเปóดรับฟiงรายการวิทยุการสนทนาประเด็นสาธารณะ ผลพบวEาแรงจูงใจด:านความบันเทิง การได:รับข:อมูลขEาวสาร
                                                                                                            ั
               และการรับรู:ถึงความสัมพันธQกึ่งความจริง เปUนเหตุผลในการฟiงรายการวิทยุประเภทสนทนา และเหตุผลที่ผู:ฟiงเห็นวEาผู:จด
               รายการมีความนEาเชื่อถือ


                       กรอบความคิดการใช,ประโยชน@และความพึงพอใจ

                       กรอบความคิดการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจจากสื่อโดยเริ่มต:นจาก  (1) สภาวะทางสังคมและจิตวิทยา (2)

               ทำให:เกิดความต:องการ ที่นำไปสูE (3) ความคาดหวังเกี่ยวกับ (4) สื่อมวลชนและแหลEงอื่น ที่นำไปสูE (5) รูปแบบการเปดรบ
                                                                                                            ั
                                                                                                          ó
               สื่อตEาง ๆ (หรือความเกี่ยวพันในกิจกรรมอื่น) เปUนผลให:เกิด (6) การสนองความพึงพอใจ และ (7) ผลลัพธQอื่น ซึ่งรวมถง
                                                                                                            ึ
               ผลลัพธQที่ไมEได:ตั้งใจ (Croucher, 2016)
                       การบริโภคสื่ออยูEบนพื้นฐานของความต:องการทางสังคมและจิตวิทยาของผู:รับสารหรือผู:บริโภค ความต:องการท ี่

                                       ึ
                                                                 ุ
               ไดรบการสนองกจะเกดความพงพอใจ Herzog (1940) เสนอวาบคคลแสวงหาความพงพอใจ 3 ประเภทจากสือ ได:แกE การ
                                                               E
                                                                                                   ่
                 :
                  ั
                                ิ
                                                                                 ึ
                            ็
               ชดเชย (Compensation) การปลดปลEอยทางอารมณQ (Emotional release) และ/หรือ การได:รับคำแนะนำ (Advice)
               Lazarsfeld และ Merton (1948) เสนอแนะความพึงพอใจเพิ่มเติมจากการบริโภคสื่อ ได:แกE การปฏิบัติตามบรรทัดฐาน
                                                                                                            E
               ทางสังคม (Enforcement of social norms) การสEงเสริมสถานภาพ (Status conferral) ความพึงพอใจสามารถแบง
               ประเภทอื่น ๆ ได:อีก เชEน ความพึงพอใจด:านเนื้อหาและด:านกระบวนการ ด:านความรู:คิด/ด:านอารมณQ จินตนาการ และ
               ด:านการเปUนเครื่องมือ (Miller, 2005)
                        Katz, Blumler, และ Gurevitch (1974) อธิบายวEางานวิจัยด:านการใช:ประโยชนQและความพึงพอใจแตEละชิ้นม ี
              การแบEงประเภทหน:าที่ของผู:รับสาร ซึ่งงานทั้งหมดแสดงถึงผู:รับสารที่มีความกระตือรือร:นในการเลือกใช:สื่อเพื่อตอบสนอง
              ความสนใจ (ความพึงพอใจ) ของตนเอง ซึ่งเปUนมุมมองที่แตกตEางไปจากทฤษฎีการเรียนรทางสังคม (Social cognitive
                                                                                      ู:
              theory) ที่อธิบายวEาพฤติกรรมของผู:รับสารได:รับผลกระทบจากการสังเกตต:นแบบที่สื่อได:นำเสนอ
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140