Page 65 -
P. 65
ิ
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
43
ยุทธศาสตร์พัฒนาการประมง กรมประมง ในปี พ.ศ. 2561 พบว่า ประเทศไทยมีการส่งออกผลผลิตและ
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำเป็นอันดับ 6 ของโลก โดยมีคู่แข่งที่สำคัญในตลาดโลก คือ ประเทศจีน นอร์เวย์ เวียดนาม
อินเดีย และชิล (กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2563g)
ี
2.3.3.2 ปัญหาเชิงล กของกลุ่มธุรกิจแปรรูปสัตว์น ำในพื นที่ าคใต ้
จากการศึกษาข้อมูลธุรกิจแปรรูปสัตว์น้ำในพื้นทภาคใต้ ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มี
ี่
ความเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานการแปรรูปสัตว์น้ำ ทำให้สามารถสรุปประเด็นปัญหาที่เป็นข้อจำกัดใน
การพัฒนาธุรกิจแปรรูปสัตว์น้ำได ดังนี้
้
1. ระบบการเพาะเลี ยงและส าวะแวดล้อมของการเลี ยงสัตว์น ำ
่
ุ
ขาดระบบในการวัดคณภาพน้ำทราคาไม่สูง เช่น การวัดปริมาณความสกปรกของแหล่งน้ำตาง ๆ
ี่
(BOD) การวัดปริมาณแอมโมเนีย การวัดความเป็นด่างของน้ำ (Alkalinity) การวัดปริมาณ
ออกซิเจนและปริมาณไนไตร์ท ซึ่งปัจจุบันใช้ชุดทดสอบ (Test Kit) กับเทคโนโลยีแบบหัวจม
ุ่
(Probe) ที่ตองมีการใช้สารเคมีหรือต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาหัวจุ่ม ขณะที่ เครื่องวัด
้
คุณภาพน้ำราคาค่อนข้างแพง
ขาดระบบแจ้งเตือนในแหล่งเพาะเลี้ยงเมื่อคุณภาพน้ำไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
ี่
ขาดระบบบำบัดน้ำจากการเพาะเลี้ยงกุ้ง เนื่องจากน้ำเสียทเกิดจากการเลี้ยงกุ้งไม่สามารถปลอย
่
ทิ้งสู่แม่น้ำได้ทันที แต่จำเป็นต้องผ่านระบบบำบัดน้ำเสียที่มีราคาค่อนข้างสูง โดยปัจจุบันใช้วิธีการ
้
บำบัดด้วยการขยายพื้นที่บ่อเลี้ยงกุ้งให้กว้างขึ้น ไม่เลี้ยงกุ้งให้หนาแน่นจนเกินไป รวมถึงการใชพืช
ี้
ั
น้ำหรือ Bio - Ball เพื่อช่วยในระบบบำบัด หรือเลี้ยงสตว์น้ำชนิดอื่นร่วมด้วยภายในบ่อเลยง แต ่
เกษตรกรส่วนมากยังไม่นิยมเลี้ยงสัตว์น้ำชนิดอื่นร่วมด้วยเท่าที่ควรเพราะจะขายได้ในราคาถูก
2. โรคอุบัติใหม่ของสัตว์น ำที่ต้องเฝ าระวัง
ั
ี่
ขาดเครื่องมือเ ้าระวังในการตรวจโรคในระยะทยังรักษาได้ โดยเฉพาะโรคกลุ่มไวรัส เช่น โรคตว
แดงจุดขาวทพบได้ในน้ำและในตัวกุ้ง ซึ่งในระยะเริ่มแรกจะไม่สามารถมองเห็นตัวโรคแตจะ
ี่
่
้
สามารถวิเคราะห์ได้จากคุณภาพน้ำ (เป็นระยะทสามารถรักษาได) ส่วนระยะที่เป็นดอกขึ้นที่ตัวกุ้ง
ี่
จะสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าแต่ไม่สามารถรักษาได ้
3. ต้นทุนอาหารสัตว์น ำมีราคาสูง
อาหารเลี้ยงกุ้งมีราคาที่ค่อนข้างสูง โดยปัจจุบันการเลี้ยงกุ้งใช้อาหารเลี้ยงกุ้งแบบสำเร็จรูป
เนื่องจากสามารถให้ผลผลิตสูง (อาหาร 1.1 กิโลกรัม สามารถให้เนื้อกุ้งถึง 1.5 กิโลกรัม) ซึ่ง
การพัฒนาสูตรอาหารเลี้ยงกุ้งมีแนวโน้มเติบโตอย่างรวดเร็วแต่ราคาจัดจำหน่ายค่อนข้างสูง
ขาดระบบควบคุมการให้อาหารกุ้งในปริมาณที่เหมาะสม (Feed Monitor) เพื่อช่วยแจ้งเตือน
การให้อาหารกุ้ง ซึ่งจะทำให้สามารถลดต้นทุนของอาหารเลี้ยงกุ้งได ้