Page 66 -
P. 66
ิ
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
44
4. การจัดการด้านการขนส่ง
ั
ขาดการบริหารจัดการตั้งแต่สั่งจับสตว์น้ำ จัดส่งวัตถุดิบหรือขนย้ายจากฟาร์มสัตว์น้ำมายังโรงงาน
แปรรูปสัตว์น้ำ
ขาดการรักษาความสดของกุ้งในระหว่างการเคลื่อนย้ายเพื่อจำหน่ายหรือส่งออก ที่เป็นวิธีการเก็บ
รักษาคุณภาพกุ้ง เช่น กุ้งกล้ามกรามและกุ้งขาว ที่มีประสิทธิภาพ (Post-Harvest)
1 • ขาดระบบวัดคุณ าพน าที่ราคาไม่สูง อาทิ การวัดค่า BOD การวัดปริมาณแอมโมเนีย การวัดความเป็นด่างของน้ า (Alkalinity)
ระบบการ
เพาะเลี ยงและ • ขาดระบบแจ้งเตือนในแหล่งเพาะเลี ยงเมื่อคุณภาพน้ าไม่ได้เป็นไปตามมาตรฐาน
ส าวะแวดล้อม • ขาดระบบบ าบัดน าจากการเพาะเลี ยงกุ้ง เนื่องจากน้ าเสียที่เกิดจากการเลี้ยงกุ้งไม่สามารถปล่อยทิ้งสู่แม่น้ าได้ทันที แต่จ าเป็นต้องผ่าน
ระบบบ าบัดน้ าเสียที่มีราคาค่อนข้างสูง
2
โรคอุบัติใหม่ของ • ขาดเครื่องมือเฝ าระวังเพื่อตรวจโรคในระยะที่ยังรักษาได้ โดยเฉพาะโรคกลุ่มไวรัส อาทิ โรคตัวแดงจุดขาว ที่พบได้ในน้ าและในตัวกุ้ง ซึ่ง
สัตว์น าที่ต้อง ในระยะเริ่มแรกจะไม่สามารถมองเห็นตัวโรคแต่จะสามารถวิเคราะห์ได้จากคุณภาพน้ า (เป็นระยะที่สามารถรักษาได้)
เฝ าระวัง
ต้นทุนอาหาร • อาหารเลี ยงกุ้งมีราคาที่ค่อนข้างสูง โดยปัจจุบันการเลี้ยงกุ้งใช้อาหารเลี้ยงกุ้งแบบส าเร็จรูปเนื่องจากสามารถให้ผลผลิตสูง ซึ่งการพัฒนา
สัตว์น า สูตรอาหารเลี้ยงกุ้งมีแนวโน้มเติบโตอย่างรวดเร็วแต่ราคาจัดจ าหน่ายค่อนข้างสูง
มีราคาสูง • ขาดระบบควบคุมการให้อาหารกุ้งในปริมาณที่เหมาะสม (Feed Monitor) เพื่อช่วยแจ้งเตือนการให้อาหารกุ้ง ซึ่งจะท าให้สามารถลด
ต้นทุนของอาหารเลี้ยงกุ้งได้
4
การจัดการด้าน • ขาดการบริหารจัดการ ตั้งแต่สั่งจับสัตว์น้ า จัดส่งวัตถุดิบหรือขนย้ายจากฟาร์มสัตว์น้ ามายังโรงงานแปรรูปสัตว์น้ า
การขนส่ง • ขาดการรักษาความสดของกุ้งในระหว่างการเคลื่อนย้ายเพื่อจ าหน่ายหรือส่งออก ที่เป็นวิธีการเก็บรักษาคุณภาพกุ้ง อาทิ กุ้งกล้ามกราม
และกุ้งขาว ที่มีประสิทธิภาพ (Post-Harvest)
รูปที่ 2-14 ปัญหาเชิงลึกของของกลุ่มธุรกิจแปรรูปสัตว์น้ำ
ที่มา: สรุปจากการสัมภาษณ ์
ี่
จะเห็นได้ว่าประเด็นท 1. ระบบการเพาะเลี้ยงและสภาวะแวดล้อมของการเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. โรคอุบัติใหม่
ของสัตว์น้ำที่ต้องเ ้าระวัง 3. ต้นทุนอาหารสัตว์น้ำมีราคาสูง และ 4. การจัดการด้านการขนส่ง ล้วนเป็นปัญหา
ด้านต้นน้ำทั้งสิ้น
่
จากข้อมูลโครงสร้างการผลตของภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมดังกลาว พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต ้
ิ
มีความโดดเด่นในด้านของการเกษตรกรรมปาล์มน้ำมัน ยางพารา และอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตร
ั
ี่
ต่าง ๆ ดังนั้น ในการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจยเชิงพื้นทระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ระยะแรกจึงไดกำหนดให้ปาล์มน้ำมันเป็นอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป้าหมายใน
้
ี่
การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับจัดทำแผนเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชยวชาญ
้
การวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ต่อไป