Page 63 -
P. 63

ิ
                            ื
                               ิ
                                                                              ิ
                                                                  ิ
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                             ์
                                                              41
                               •  เกษตรกรผู้เพาะเลี ยงสัตว์น ำชายฝั่ง มีฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชาย ั ง (เฉพาะกุ้งทะเล หอย

                                  ทะเล และปูทะเล) จำนวน 33,041 แห่ง เนื้อที่รวม 353,188 ไร่ ประกอบด้วย ฟาร์มเล้ยง
                                                                                                          ี
                                  กุ้งทะเล 24,608 แห่ง เนื้อที่ 235,428 ไร่ ฟาร์มเลี้ยงหอยทะเล 5,189 แห่ง เนื้อที่ 91,480

                                  ไร่ และฟาร์มเลี้ยงปูทะเล 3,244 แห่ง เนื้อที่ 26,280 ไร่ โดยมีผลผลิตสัตว์น้ำจาก
                                  การเพาะเลี้ยงชาย ั งประมาณ 464,425 ตัน แบ่งเป็นผลผลิตจากการเลี้ยงกุ้งทะเล 373,739

                                  ตัน ผลผลิตจากการเลี้ยงหอยทะเล 88,973 ตัน และผลผลิตจากการเลี้ยงปูทะเล 1,713 ตน
                                                                                                           ั
                                                                   ์
                                  (กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2563c; 2563e; 2563f)
                                                                                                          ้
                         1.2 เรือประมงจับสัตว์น ำตามธรรมชาติ มีความแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดลอม
                                                                      ื
                             ของพื้นที่นั้น ๆ เช่น การจับสัตว์น้ำจากแหล่งน้ำจด และการจับสัตว์น้ำจากแหล่งน้ำเคม เป็นตน
                                                                                                    ็
                                                                                                           ้
                             โดยส่วนใหญ่แล้ว การจับสัตว์น้ำจากแหล่งน้ำจืดจะอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วน
                             การจับสัตว์น้ำจากแหล่งน้ำเค็มจะอยู่บริเวณภาคใต้เป็นหลัก

                               •  การจับสัตว์น ำจืดตามธรรมชาติ เป็นการจับ ดัก หรือเก็บสัตว์น้ำในแหล่งประมงน้ำจืด ในปี
                                  พ.ศ. 2562 มีผลผลิตการจับสัตว์น้ำจืดจากธรรมชาติปริมาณรวม 116,465 ตัน คิดเป็นมูลค่า

                                  7,014.08 ล้านบาท ซึ่งเมื่อพิจารณาปริมาณสัตว์น้ำจืดที่จับได้ตามประเภทแหล่งน้ำ พบว่า

                                  สัตว์น้ำจืดที่จับได้จากแหล่งน้ำประเภทหนอง บึง และอื่น ๆ มีปริมาณมากที่สุด คือ 44,640
                                  ตัน รองลงมา ได้แก่ แม่น้ำลำคลอง ห้วย 41,859 ตัน อ่างเก็บน้ำ 26,395 ตัน คลองชลประทาน

                                                                                                           ุ
                                                                                                  ั
                                  2,153 ตัน และบ่อล่อ 1,418 ตัน นอกจากนี้ ยังพบว่าปลาเป็นสัตว์น้ำที่มีการจบไดมากทสด
                                                                                                          ี่
                                                                                                     ้
                                  ถึงร้อยละ 96.90 ของปริมาณสัตว์น้ำทั้งหมด รองลงมาคือ กลุ่มกุ้ง และสัตว์น้ำอื่น ๆ (กรม
                                                               ์
                                  ประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2563a)
                               •  การจับสัตว์น ำเค มข  นท่าเทียบเรือ เป็นการทำประมงพาณิชย์ที่นำมาขึ้นท่าเทียบเรือ
                                                                                                          ิ
                                                                                  ั
                                  ในแต่ละจังหวัด โดยในปี พ.ศ. 2562 มีปริมาณและมูลค่าสตว์น้ำจากการทำประมงพาณชย์
                                  1,249,203 ตัน มูลค่า 51,330.45 ล้านบาท ซึ่งเมื่อพิจารณาตามกลุ่มสัตว์น้ำ พบว่า สัตว์น้ำ
                                  จำพวกปลามีปริมาณมากที่สุด 1,082,500 ตัน โดยเฉพาะปลาเศรษฐกิจสำหรับการบริโภค

                                  และปลาเป็ด รองลงมา คือ สัตว์น้ำจำพวกหมึก 83,916 ตัน สัตว์น้ำจำพวกกุ้ง 35,202 ตน
                                                                                                           ั
                                                                                                           ั
                                  สัตว์น้ำจำพวกหอย 28,205 ตัน สัตว์น้ำจำพวกปู 18,894 ตัน และสัตว์น้ำอื่น ๆ 486 ตน
                                                                   ์
                                  (กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2563b)
                                                                                                   ่
                         1.3 สะพานปลาหรือองค์การสะพานปลา เป็นองค์กรหลักด้านตลาดสินคาสตว์น้ำและสงเสริมธุรกิจ
                                                                                         ั
                                                                                       ้
                             ประมง โดยมีหน้าที่ในการบริหารตลาดสินค้าสัตว์น้ำให้มีคุณภาพมาตรฐาน ถูกสุขอนามัย และ
                             เป็นธรรม เพื่อประโยชน์ของเกษตรกร/ ชาวประมง ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค ซึ่งปัจจุบัน

                             องค์กรสะพานปลาได้เปิดดำเนินงานสะพานปลา 22 แห่ง และท่าเทียบเรือเอกชน 1,145 แห่ง

                             นอกจากนี้ ยังมีพ่อค้าคนกลางในการรับซื้อหรือขายสินค้าสัตว์น้ำอีก 11,694 ราย (กรมประมง
                                                    ์
                             กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2563g)
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68