Page 60 -
P. 60

ิ
                                                                  ิ
                            ื
                                             ์
                               ิ
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                              ิ
                                                          38
                นอกจากนี้ ในอุตสาหกรรมกลางน้ำและปลายน้ำของประเทศไทยจะมีโรงงานททำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรม
                                                                                ี่
            แปรรูปสัตว์น้ำเพื่อนำไปใช้ในการบริโภคหรือใช้ในอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ประกอบด้วย โรงงานถนอมสัตว์น้ำ 201
            แห่ง โรงงานแปรรูปสัตว์น้ำเบื้องต้น 198 แห่ง โรงงานผลิตและบรรจุภาชนะ 109 แห่ง และโรงงานผลิตอาหาร

            สำเร็จรูปจากสัตว์น้ำ 94 แห่ง (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2564)


                2.3.3.1 ห่วงโ ่อุปทานของอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น ำ
                ในห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น้ำของประเทศไทย มีกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนและ

            อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องจำนวนมาก เมื่อจำแนกตามกระบวนการและขั้นตอน ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรม
            แปรรูปสัตว์น้ำจะประกอบด้วย 1. การผลิตวัตถุดิบต้นน้ำ ซึ่งประกอบด้วยเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพประมงเป็น

            หลัก 2. อุตสาหกรรมแปรรูปกลางน้ำ ประกอบด้วยโรงงานแปรรูปสัตว์น้ำเบื้องต้นและโรงงานถนอมสัตว์น้ำ และ

                                                                                               ิ
                                                                                                        ่
                                                                                         ้
            3. อุตสาหกรรมแปรรูปปลายน้ำ/ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง ประกอบด้วยโรงงานแปรรูปเพื่อให้ไดเป็นผลตภัณฑ์ เชน
                                                                                                         ้
                                                                                                      ิ
            ปลากระป๋อง น้ำปลา ปลาป่น เป็นต้น โดยในแต่ละขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทานจะมีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสนคา
            ในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
                1.  การผลิตวัตถุดิบต้นน ำ เป็นกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการจับสัตว์น้ำของเกษตรกรเพื่อให้ได
                                                                                                         ้
                   ผลผลิตสัตว์น้ำไปดำเนินการแปรรูปสำหรับการบริโภค ซึ่งผลผลิตสัตว์น้ำของประเทศไทยมีทั้งสตว์น้ำจาก
                                                                                                 ั
                   แหล่งน้ำจดและแหล่งน้ำเค็ม โดยสามารถแบ่งประเภทกิจกรรมของเกษตรกรออกเป็น 2 ส่วนหลัก คอ
                                                                                                        ื
                            ื
                   การเพาะเลี้ยง และการจับสัตว์น้ำตามธรรมชาต  ิ
                   1.1 เกษตรกรผู้เพาะเลี ยง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในประเทศไทยมีทั้งการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดและ

                                                                   ี้
                       การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชาย ั ง โดยเกษตรกรผู้เพาะเลยงสัตว์น้ำจืดส่วนมากจะประกอบอาชีพอยู่ภาค
                       ตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด ส่วนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชาย ั งจะอยู่บริเวณภาคใต้มากที่สุด

                         •  เกษตรกรผู้เพาะเลี ยงสัตว์น ำจืด การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกอบด้วย การเลี้ยงในบ่อดน
                                                                                                        ิ
                            การเลี้ยงในนา การเลี้ยงในร่องสวน และการเลี้ยงในกระชัง โดยประเทศไทยมีจำนวนฟาร์มเลี้ยง

                            สัตว์น้ำจืดทั้งหมด 492,897 แห่งทั่วประเทศ เนื้อที่รวม 789,135 ไร่ ซึ่งในปี พ.ศ. 2562 มี

                                                                                                     ี้
                            ผลผลิตสตว์น้ำจดจากการเพาะเลี้ยงทวประเทศ 427,330 ตัน แบ่งเป็นผลผลตจากการเลยงใน
                                                                                           ิ
                                         ื
                                                           ั่
                                   ั
                            บ่อมากที่สุด 386,830 ตัน คิดเป็นร้อยละ 90.52 ของผลผลิตทั้งหมด รองลงมา คือ ผลผลิตจาก
                                                                                                        ั
                            การเลี้ยงในกระชัง 31,978 ตัน (ร้อยละ 7.48) ผลผลิตจากการเลี้ยงในร่องสวน 6,702 ตน
                            (ร้อยละ 1.57) และผลผลิตจากการเลี้ยงในนา 1,820 ตัน (ร้อยละ 0.43) โดยสัตว์น้ำจืดที่ให้
                            ผลผลิตมากที่สุด คือ ปลานิลและปลาทับทิม รองลงมา ได้แก่ ปลาดุก กุ้งก้ามกราม และสัตว์น้ำ

                            อื่น ๆ ตามลำดับ (กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2563d)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65