Page 59 -
P. 59
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
37
1 • เกษตรกรนิยมท ายางก้อนถ้วยที่มีการใส่กรด ท าให้ยางสกปรกและได้ผลตอบแทนต่ า รวมถึงนิยมใช้กรดอนินทรีย์แทนกรดอินทรีย์
ระบบการผลิต
และจัดจ าหน่าย • เกษตรกรขาดความเชื่อมั่นในค าแนะน าของหน่วยงานราชการ อาทิ เรื่องระบบการกรีด
ของเกษตรกร • มีระบบคนกลางที่ท าให้เกษตรกรไม่สามารถขายผลผลิตให้กับโรงงานได้โดยตรง และมีปัญหาเรื่องการกดราคาของคนกลาง
• อายุการเก บรักษาน ายางค่อนข้างสั้น เก็บได้เพียง 1 วันเท่านั้น
2
โรคอุบัติใหม่ของ • โรคอุบัติใหม่ที่ส่งผลต่อผลผลิตยาง อาทิ โรคใบร่วง (ตระกูลเชื้อรา) ที่ยังไม่มีวิธีการจัดการที่เหมาะสมเท่าที่ควร โดยเฉพาะในบางพื้นที่
ยางพาราที่ต้อง ซึ่งเครื่องฉีดพ่น (Air Blast) ไม่สามารถเข้าถึงได้
เฝ าระวัง
ขาดการสร้าง • ขาดการเลือกใช้พันธุ์ยางตามคุณสมบัติที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แปรรูปแต่ละประเภท
มูลค่าเพิ่มใหม่ ๆ • ขาดการสร้างมูลค่าเพิ่มจากน ายางในกระบวนการขั นต้น ปัจจุบันอยู่ในรูปแบบของยางก้อนถ้วยและยางแผ่นดิบเป็นหลัก
จากผลผลิตยาง • การใช้ประโยชน์ยางพาราส่วนใหญ่จะใช้เพื่อผลิตยางล้อ ซึ่งผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ คือ กลุ่มผู้ประกอบการ ไม่ใช่เกษตรกร
4
ุ
ส าพการ • ยางพาราไทยขาดคุณ าพ เนื่องจากมีความบริสุทธิ ต่ า ขณะที่ ยางสังเคราะห์มีความบริสทธิ์และความสม่ าเสมอสูงกว่า
แข่งขันและ • อุตสาหกรรมกลางน าต้องใช้ทรัพยากรจ านวนมาก เพื่อควบคุมคุณภาพยางพาราที่รับซื้อจากเกษตรกร
าพลักษณ์ • ขาดการท าตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์ผลิต ัณ ์ยางธรรมชาติ ท าให้ไม่สามารถแข่งขันกับยางสังเคราะห์ได้
• มุมมองของต่างชาติที่มีต่อภาพลักษณ์การปลูกยางพาราของไทยที่มองว่าเป็นการบุกรุกป า
รูปที่ 2-12 ปัญหาเชิงลึกของของกลุ่มธุรกิจยางพารา
ที่มา: สรุปจากการสัมภาษณ ์
ซึ่งจะเห็นได้ว่าประเด็นท 1. ปัญหาด้านระบบการผลิตและจัดจำหน่ายของเกษตรกรผู้ปลูกยาง 2. โรคอุบัติใหม่
ี่
ของยางพาราที่ต้องเ ้าระวัง และ 3. ขาดการสร้างมูลค่าเพิ่มใหม่ ๆ จากผลผลิตยาง เป็นปัญหาด้านต้นน้ำ
ี่
ส่วนประเด็นท 4. สภาพการแข่งขันและภาพลักษณ์ของการผลิตยาง เป็นปัญหาด้านกลางน้ำ ปลายน้ำ และ
การตลาด
2.3.3 อุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น ำ
สัตว์น้ำถือเป็นหนึ่งในสัตว์เศรษฐกิจที่ความสำคัญของประเทศ สามารถทำรายได้เข้าประเทศได้ 213,097 ล้าน
บาท ในปี พ.ศ. 2562 โดยมีสัดส่วนการส่งออกทูน่ากระป๋องสงสุด 67,204 ล้านบาท รองลงมาเป็นกุ้ง 52,197 ล้าน
ู
บาท ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูป 10,024 ล้านบาท อาหารสุนัขและแมวกระป๋อง 9,529 ล้านบาท และอื่น ๆ
(กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2563g) ซึ่งการประกอบอาชีพเกี่ยวกับสัตว์น้ำของประเทศไทยมีทง
์
ั้
่
ี้
ิ
ั
ื
ื
ั
เกษตรกรผู้เพาะเลยงสตว์น้ำจด สัตว์น้ำชาย ั ง และชาวประมงที่จับสตว์น้ำตามธรรมชาตในแหล่งน้ำจดและแหลง
น้ำเค็ม โดยเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดและจับสัตว์น้ำจืดตามแหล่งน้ำธรรมชาติส่วนมากอยู่ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่ เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชาย ั งและจับสัตว์น้ำเค็มสวนมากอยู่ในพื้นที่ภาคใต ้
่
เนื่องจากความเหมาะสมของพื้นที่ โดยจำนวนเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับสัตว์น้ำ ประกอบด้วย
1. การเพาะเลี ยงชายฝั่ง (กุ้งทะเล หอยทะเล ปูทะเล) ส่วนมากเป็นผลผลิตกุ้งทะเล โดยภาคใต้มีฟาร์ม
ั
เพาะเลี้ยงชาย ั งรวมทั้งสิ้นจำนวน 10,326 แห่ง เนื้อที่ 120,267 ไร่ และมีปริมาณผลผลิต 200,845 ตน
(กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2563c; 2563e; 2563f)
์
2. การจับสัตว์น ำเค มหรือการจับสัตว์น ำเค มข นท่าเทียบเรือ ส่วนมากเป็นผลผลิตปลาเศรษฐกิจ โดยภาคใต ้
็
่
มีปริมาณผลผลิตสัตว์น้ำเค็มขึ้นทาเทียบเรือ 793,936 ตัน คิดเป็นร้อยละ 63.56 ของผลผลิตสัตว์น้ำเคมขึ้น
ท่าเทียบเรือทั้งประเทศ สร้างมูลค่า 31,712.73 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2562 (กรมประมง กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์, 2563b)