Page 57 -
P. 57
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
35
้
พ.ศ. 2562 มีผู้ผลิตถุงยางอนามัยจำนวน 5 ราย เป็นโรงงานผลิตในภาคใต 1 ราย ภาคตะวันออก 1
ราย และภาคกลาง 3 ราย (Rubber Intelligence Unit, 2562; 2563a)
3.3 โรงงานอุตสาหกรรมยางล้อ วัตถุดิบสำคัญที่ใช้ในการผลิตประกอบด้วย ยางธรรมชาติ (Natural
Rubber) ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ยางแผ่นรมควันและยางแท่ง (STR 10 และ STR 20) เนื่องจากมีความ
ยืดหยุ่น ทนต่อแรงดึงได้ดี และระบายความร้อนได้ดี ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubber) ผงเขม่า
ดำ (Carbon Black) ผ้าใบไนล่อนหรือผ้าใบโพลีเอสเตอร์ เส้นลวด (Bead Wire) และสารเคมีอื่น ๆ
โดยจำนวนผประกอบการผลตยางลอในประเทศไทยในปี 2562 มีประมาณ 30 ราย ทงทเป็นบริษัท
้
ิ
ี่
ั้
ู้
ข้ามชาติขนาดใหญ่ที่เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทยและบริษัทของคนไทยเอง
3.4 ผู้ส่งออกผลิต ัณ ์ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยางพาราขั้นปลายส่วนมากมีการส่งออกไปยังต่างประเทศ
โดยในปี พ.ศ. 2562 มีมูลค่าการส่งออกผลตภัณฑ์ยาง (ยางขั้นกลางและขั้นปลาย) ของไทยถึง 2.99
ิ
แสนล้านบาท (กองการยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2564; กฤษณี และ
คณะ, 2560; ชุติกาญจน์, 2556; ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2562; ประยูร, 2554; สำนักงานพัฒนา
การวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.), 2553; สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม, 2556)
ิ
จะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมยางพาราของไทยมีความโดดเด่นจากการผลตวัตถุดบต้นน้ำและการแปรรูปกลางน้ำ
ิ
มากกว่าการแปรรูปปลายน้ำ โดยการผลิตยางพาราของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นการผลิตขั้นต้นและขั้นกลาง
ได้แก่ น้ำยางสด ยางแผ่นดิบ และยางก้อนถ้วย เพื่อนำไปแปรรูปขั้นต้น ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน น้ำยางข้น ยางแทง
่
ยางผสม ยางคอมปาวด์ และยางเครพ ซึ่งประเทศไทยมีปริมาณผลผลตสูงสุดของโลก ดังนั้น วัสดุยางพาราทจะถูก
ิ
ี่
นำไปใช้ในการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จึงมีจำนวนมาก นับเป็นจุดแข็งของอุตสาหกรรมยางพาราไทย อีกทั้งยังมี
ผลงานวิจัยด้านยางพาราจำนวนมาก เนื่องจากประเทศไทยมีการปลูกยางพารามาเป็นเวลานาน และที่ผ่านมา
ภาครัฐได้ให้การสนับสนุนการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับยางพารา ทั้งในหน่วยงานของรัฐและในสถาบันอุดมศึกษาเป็น
จำนวนมากพอสมควร รวมถึง ภาคอุตสาหกรรมแปรรูปมีความพร้อมในด้านแรงงานในกระบวนการผลิต ดังนั้น
ุ
ี่
หากสามารถเชื่อมโยงอุตสาหกรรมยางพาราทั้งระบบดวยการส่งตอวัสดยางพาราขั้นต้น - ขั้นกลางทมีจำนวนมาก
้
่
ให้ภาคการแปรรูปผลิตภัณฑ์มากขึ้นได้ จะทำให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ยางพาราได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้
ประเทศไทยยังมีมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) สำหรับผลิตภัณฑ์ยางพาราที่เป็นมาตรฐานในการผลิต
ี่
้
สินค้าหรือผลตภัณฑ์ยางพาราในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งกำหนดโดยกระทรวงอุตสาหกรรม จึงเป็นมาตรฐานทใชอ้างอิง
ิ
สำหรับผู้ประกอบการที่จะสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ยางพาราเพิ่มมากขึ้น (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2562; สำนักงาน
ั
เศรษฐกิจการเกษตร, 2563c) และปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ทำให้ประเทศไทยเป็นผู้นำการส่งออกยางพาราเป็นอันดบ
1 ของโลก