Page 52 -
P. 52
ื
ิ
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
30
เช่น ยางล้อเครื่องบิน ยางล้อรถยนต์ ยางรองคอสะพาน ยางกันกระแทก ยางรองพื้น พื้นรองเท้า ยางรัดของ
ลูกกอล์ฟ เป็นต้น โดยในแต่ละขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทานจะมีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าในระดับทแตกตาง
ี่
่
กัน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
้
ุ
1. การผลิตวัตถดิบต้นน ำ (กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา) ผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมยางพาราตนน้ำ
คือ น้ำยางพาราสด ซึ่งมาจากการเพาะปลูกของเกษตรกร ทั้งรายย่อยที่มีการผลิตยางพาราจำนวน
น้อย และเกษตรกรในกลุ่มสหกรณ์ผปลูกยางพาราหรือนิคมสร้างตนเองทเกิดจากการรวมกลมกันของ
ี่
ุ่
ู้
เกษตรกรที่มีพื้นที่เพาะปลูกใกล้เคียงกัน รวมถึงบริษัทเอกชนผู้ผลิตยางพารา และเนื่องจากยางพารา
ไม่สามารถบริโภคได้โดยตรง จึงต้องนำไปผ่านกระบวนการเพื่อแปรรูปก่อนนำไปใช้ประโยชน์
1.1 เกษตรกรผู้ปลูกยางพารา ยางพาราเหมาะกับสภาพอากาศร้อนชื้นในบริเวณใกล้เคียงกับเสน
้
ศูนย์สูตร ซึ่งจะเจริญเติบโตได้ดีในภาคใต้และบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจังหวัดท ี่
มีการเพาะปลูกยางพาราสูงที่สุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างไรก็ตาม ยังมีการปลูกยางพาราใน
พื้นที่อื่นกระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศอีกด้วย โดยสามารถแบ่งผู้ปลูกยางออกไดเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
้
ี่
• บริษัทเอกชนผู้ผลิตยางพารา เป็นกลุ่มบริษัทผผลิตผลตภัณฑ์แปรรูปจากยางพาราทมีสวน
ู้
ิ
ยางพาราเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดหาวัตถุดิบและเพิ่มความ
สะดวกในการรวบรวมวัตถุดิบจากแหล่งพื้นที่ใกล้เคียงในราคาที่เหมาะสม (บริษัท ศรีตรัง
แอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน), 2564) และเนื่องจากมีเงินลงทุนสูงทำให้มีการนำ
เทคโนโลยีมาใช้ในการปลูกยาง รวมถึงมีการบริหารจัดการที่ดี ส่งผลให้อาจได้ปริมาณ
ผลผลิตต่อไร่ค่อนข้างสูงกว่ากลุ่มอื่น
• เกษตรกรรายย่อย เป็นส่วนใหญ่ของจำนวนเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราทั้งประเทศ (ร้อยละ
ู
91) (สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2556) คือ มีพื้นที่ปลก
ยางพาราเฉลี่ยตั้งแต่ 2 - 50 ไร่ต่อครัวเรือน (กลุ่มวิจัยเศรษฐกิจ สถาบันวิจัยยาง กรม
วิชาการเกษตร, 2553) มีพื้นที่ปลูกยางกระจัดกระจาย โดยเป็นทั้งเกษตรกรที่ปลูกยางพารา
เป็นหลัก ผสมผสานกับการปลูกพืชชนิดอื่น และพึ่งพิงรายได้นอกภาคการเกษตรเป็นหลัก
ิ
่
่
(ธนายุส และคณะ, 2562) เกษตรกรรายย่อยอาจมีผลผลตคอนข้างตำ เนื่องจากขาดความรู้
การจัดการที่ด ส่วนรูปแบบการจำหน่ายผลผลิตของเกษตรกรกลุ่มนี้ ส่วนมากจะจำหน่ายน้ำ
ี
ยางพาราสดในรูปของยางแผ่นดิบให้กับพ่อค้าท้องถิ่น เนื่องจากได้รับความสะดวกและไดรับ
้
้
เงินเร็ว แต่ราคาที่เกษตรกรได้จะอยู่ในเกณฑ์ต่ำ หรือขายให้กับโรงงานแปรรูปยางขั้นตน
โดยตรงหากมีโรงงานอยู่ใกล้สวนยาง แต่ไม่นิยมขายให้แก่สหกรณ์ เนื่องจากมีขั้นตอนท ี่
เข้มงวดและได้เงินช้า (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2553)
• เกษตรกรในกลุ่มสหกรณ์ผู้ปลูกยางพารา หรือนิคมสร้างตนเอง เป็นการรวมตัวของ
เกษตรกรที่มีพื้นที่เพาะปลูกยางพาราที่ติดกันหรือใกล้เคียงกัน และเนื่องจากมีการรวมตัวกัน
ั
ทำให้ง่ายต่อการบริหารจดการ จึงได้รับการดูแลสนับสนุนทางความรู้และโครงสร้างพื้นฐาน
จากภาครัฐ