Page 51 -
P. 51

ิ
                               ิ
                                             ์
                                                                              ิ
                                                                  ิ
                            ื
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                              29
                  อันดับสองของโลก รองจากประเทศอินโดนีเซีย มีเกษตรกรที่ปลูกยางพารารวมทั้งประเทศประมาณ

                  1,557,530 ราย มีเนื้อที่กรีดยางพาราประมาณ 20,579,196 ไร่ ผลผลิตกว่า 4.69 ล้านตัน โดยมีเนื้อทีกรีดได ้
                                                                                                       ่
                                                                                                       ่
                  เพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่ปลูกใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2557 ซึ่งเกษตรกรปลูกแทนพืชไร่ พื้นที่นา พื้นที่ว่างเปลา และ
                  ปลูกแทนต้นยางพาราที่อายุมากให้ผลผลิตน้อย ซึ่งเริ่มกรีดได้ในปี พ.ศ. 2563 นี้ อย่างไรก็ตาม ผลผลิตต่อเนื้อท ี่
                  กรีดได้ลดลงจากการขาดแคลนแรงงานกรีดยางเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดเชื้อไวรัสโควิด-
                                                                                               ิ
                                            ้
                  19 แรงงานจึงไม่สามารถกลับเขามาในประเทศเพื่อเริ่มกรีดยางไดในช่วงของการเปดกรีดหน้ายาง ประกอบกับ
                                                                        ้
                                                                                      ิ
                  แหล่งผลิตในภาคใต้มีจำนวนวัน นตกมากกว่าปีที่แล้ว ทำให้จำนวนวันกรีดได้ในปีนี้ลดลง (คณะกรรมการ
                  พัฒนาคุณภาพข้อมูลด้านการเกษตร, 2564; สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564a; 2564b)

                      ทั้งนี้ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการส่งออกยางพาราเป็นอันดับหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2562
                  ประเทศไทยมีการส่งออกยางพาราประมาณ 4.04 ล้านตัน และในปี พ.ศ. 2563 มีปริมาณการส่งออก 3.80

                                                                                      ุ
                                                                                    ี่
                  ล้านตัน ซึ่งประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการนำเข้ายางพาราจากประเทศไทยมากทสด (2.35 ล้านตัน) ในขณะท ี่
                                                                                                           ิ
                                                                                                         ี่
                  ความต้องการใช้ยางพาราในประเทศไทยปี 2563 มีการใช้ยางพาราเพียงประมาณร้อยละ 13 จากผลผลิตทผลต
                  ได้ทั้งหมด โดยการใช้ยางพาราในประเทศไทยจะใชในอุตสาหกรรมยางลอ ยางยืด ถุงมือยาง และอุตสาหกรรม
                                                            ้
                                                                             ้
                                                                       ์
                  อื่น ๆ (กองการยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2564; สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563a)
                      อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหาความท้าทายในหลาย ๆ
                                                    ิ
                  ด้าน ทั้งจากการผลิตของไทยที่เป็นการผลตเพื่อส่งออกเป็นหลัก ทำให้ภาวะอุตสาหกรรมยางพาราไทยผนแปร
                                                                                                       ั
                  ตามภาวะเศรษฐกิจโลก ทั้งยังเป็นการส่งออกที่พึ่งพาตลาดประเทศจีนมากถึงร้อยละ 61.81 ของการส่งออก
                  ทั้งหมด (กองการยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2564) ซึ่งจากการที่ประเทศจีนดำเนิน

                  นโยบายพึ่งตนเองในเรื่องผลผลิตยางพาราโดยลงทุนเช่าพื้นที่ปลูกยางพาราในกลุ่มประเทศ CLMV และมี

                  แนวโน้มที่จะมีผลผลิตของตนเพียงพอต่อความต้องการใช้ในอนาคตอันใกล้ จะส่งผลให้มีการลดการนำเข้า
                                                                                                        ี่
                                     ่
                                                                                       ิ
                  ยางพาราจากประเทศตาง ๆ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2562; สภาเกษตรกรแห่งชาต, 2560) รวมถึงการทราคา
                  ยางพาราในประเทศยังทรงตัวอยู่ในระดับต่ำ (แนวหน้า, 2563) และยังต้องเผชิญกับปัจจัยท้าทายด้านต้นทุน
                  การผลิตที่สูงกว่าประเทศคู่แข่ง เนื่องจากบางประเทศไม่มีการเก็บเงินสงเคราะห์หรือค่า CESS ประกอบกับ

                  ปัจจัยด้านกำลังแรงงาน ค่าจ้างแรงงานที่อยู่ในระดับต่ำและถูกกว่าเมื่อเทียบกับแรงงานไทย ทำให้ประเทศ

                  เหล่านั้นสามารถแข่งขันทางด้านราคาได้ดีกว่าในตลาดโลก (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2556)


                      2.3.2.1 ห่วงโ ่อุปทานของอุตสาหกรรมยางพารา
                      ในห่วงโซ่อุปทานยางพาราของประเทศไทย มีกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนและอุตสาหกรรมท ี่

                  เกี่ยวเนื่องจำนวนมาก เมื่อจำแนกตามกระบวนการและขั้นตอน ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ยางพาราจะ
                  ประกอบด้วย 1. การผลิตวัตถุดิบต้นน้ำ ซึ่งประกอบด้วยการเพาะปลูกของเกษตรกรเป็นหลัก 2. การแปรรูป

                  กลางน้ำ ประกอบด้วยการแปรรูปขั้นต้น ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ คือ น้ำยางข้น ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางแผ่นรมควัน

                  ยางแท่ง และยางเครพ และการแปรรูปขั้นกลาง ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ คือ ยางมาสเตอร์แบทช์ ยางคอมปาวด์ และ
                  ยางรีเคลม และ 3. การแปรรูปปลายน้ำ ประกอบด้วยการแปรรูปเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56