Page 46 -
P. 46
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
24
ี่
่
้
่
้
2. มูลค่าสินค้าเกษตร เป็นสินค้าเกษตรทมีมูลคาสูงเมื่อเปรียบเทยบกับสินคาเกษตรอื่น ๆ (มูลคาทไดมา
ี
ี่
จากผลผลิตและราคาเฉลี่ยของปี พ.ศ. 2563 ของภาคใต้ เพื่อนำมาพิจารณาเปรียบเทียบเบื้องตน
้
เท่านั้น)
่
ิ
้
ปาล์มน ำมัน: สามารถสร้างมูลคาได 66,496 ล้านบาท จากปริมาณผลผลต 14.52 ลานตน และ
้
ั
ราคาเฉลี่ยของปี พ.ศ. 2563 ที่ 4,580 บาทต่อตัน
ยางพารา: สามารถสร้างมูลค่าได้ถึง 112,956 ล้านบาท จากปริมาณผลผลตยางพารา 2.45 ลาน
ิ
้
ตัน และไม้ยางพาราท่อน 7.95 ล้านตัน และราคาเฉลี่ยของปี พ.ศ. 2563 ที่ 42,720 (ราคายาง
แผ่นดิบชั้น 3) และ 1,018 บาทต่อตัน ตามลำดับ
การเพาะเลี ยงสัตว์น ำ: สามารถสร้างมูลค่าได 77,378 ล้านบาท (เฉพาะสัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือ
้
และกุ้งเพาะเลี้ยง) จากปริมาณผลผลิตรวม 879,982 ตัน และราคาเฉลี่ยของปี พ.ศ. 2563 ท ี่
70,650 (ราคาปลาทูขนาดกลาง) และ 159,080 (ราคากุ้งขาวแวนนาไม ขนาด 50 ตัวต่อกิโลกรัม)
บาทต่อตัน
3. สินค้าเกษตรที่มีครัวเรือนจำนวนมาก เป็นสินค้าเกษตรที่มีครัวเรือนเกษตรกรซึ่งทำการเพาะปลก
ู
จำนวนมาก เนื่องจากถ้ามีครัวเรือนเกษตรกรจำนวนมากแสดงว่าจะมีผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการยกระดบ
ั
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับสินค้าเกษตรนั้น ๆ เป็นจำนวนมาก
้
ิ
ปาล์มน ำมัน: มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรในภาคใตรวม 290,231 ครัวเรือน หรือคดเป็นร้อยละ
86.51 ของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันทั้งประเทศ
ยางพารา: มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรในภาคใต้รวม 608,544 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 39.07
ของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราทั้งประเทศ
การเพาะเลี ยงสัตว์น ำ: มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรในภาคใต้รวม 6,446 ครัวเรือน หรือคิดเปน
็
ร้อยละ 12.38 ของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทั้งประเทศ (เฉพาะผู้ที่ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ี้
ั
เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ส่วนมากเกษตรกรมีการเพาะเลี้ยงสตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชและเลยง
สัตว์ ซึ่งไม่นับรวมอยู่ในจำนวนนี้) (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564a)
4. ผลิต ัณ ์อุตสาหกรรมที่มีโรงงานจำนวนมาก เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีโรงงานหรือ
ผู้ประกอบการจำนวนมาก เพื่อสร้างให้เกิดผลกระทบต่อคนหมู่มาก ซึ่งภาคอุตสาหกรรมของภาคใต ้
ส่วนมากอยู่ในสาขาการผลิต ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเป็นหลัก (ผลิตน้ำแข็ง
ผลิตน้ำมันจากพืชหรือสัตว์ แปรรูปสัตว์น้ำ)
ู้
ปาล์มน ำมัน: มีจำนวนผู้ประกอบการในภาคใต้รวม 181 ราย โดยสามารถแบ่งเป็นผประกอบการ
โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ 167 ราย ผู้ประกอบการโรงงานกลั่นน้ำมันปาลม 6 ราย ผู้ประกอบการ
์
โรงงานไบโอดีเซล 3 ราย และผู้ประกอบการคลังรับ ากน้ำมันปาล์ม 5 ราย (สำนักงาน ่าย
เลขานุการกรอบการประชุมระดับมุขมนตรีและผู้ว่าราชการจังหวัด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,
2563)