Page 41 -
P. 41
ื
ิ
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
19
เกษตรกร
สินค้าเกษตร
จ านวน (ครัวเรือน) ร้อยละของประเทศ
1 สาขาพืช ยางพารา มีจ านวนเกษตรกรรวมเกินกว่า 0.6 ล้านราย โดยคิดเป็น
ยางพารา 608,544 1 .1 39.1% ของเกษตรกรผู้ปลูกยางทั้งประเทศ
ปาล์มน ามัน 2 0 1 6.5
ไม้ผล 2 1 7 42.
ข้าว 74,216 1.6
2 สาขาประมง ปาล์มน ามัน มีจ านวนเกษตรกรรวมประมาณ 0.3 ล้านครัวเรือน โดย
เพาะเลี ยงสัตว์น า 6 446 12.4 คิดเป็น 86.5 ของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ ามันทั้งประเทศ และเป็น
- สัตว์น้ าเค็มฯ N/A N/A ภูมิภาคที่มีเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ ามันสูงสุดของประเทศ
- เพาะเลี้ยงกุ้ง 4 5,817 23.6
สาขาปศุสัตว์
ไก่เนื้อและไก่ไข่ 441,858 16.2
โคเนื้อ 190,734 20.9 สาขาประมง มีจ านวนชาวประมงที่ท าการเลี้ยงสัตว์น้ าประมาณ
เป็ดเนื้อและเป็ดไข่ 112,061 25.6 6,500 ครัวเรือน หรือ 12.4 ของทั้งประเทศ
รูปที่ 2-5 ครัวเรือนเกษตรกรของภาคใต ้
1
ุ
ุ
หมายเหต: เกษตรกรผู้ปลูกยางพารา หน่วยเป็นราย ไม้ผล รวมมะพร้าว สับปะรด ลำไย เงาะ ทเรียน มังคุด
2
ี่
ั
3 เฉพาะผู้ททำการเพาะเลี้ยงสตว์น้ำเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ส่วนมากเกษตรกรมีการเพาะเลี้ยง
สัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งไม่นับรวมอยู่ในจำนวนนี้
4 ผู้เพาะเลี้ยงกุ้ง หน่วยเป็นฟาร์ม
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2564a), กรมประมง (2563c) และกรมปศุสัตว์ (2563)
้
ุ
ส่วนภาคเกษตรกรรมในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต (SEC) มีสินค้าเกษตรที่สำคัญในพื้นที่จังหวัดชมพร
ระนอง สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2563 ประกอบด้วย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ทุเรียน และ
กาแฟ โดยจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นพื้นที่ที่มีการเกษตรโดดเด่นทสุดในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต เนื่องจากมี
้
ี่
่
ทั้งพื้นที่ปลูก พื้นที่ให้ผล และปริมาณผลผลิต สูงที่สุดในพื้นที่ทั้ง 4 จังหวัด อีกทั้ง สุราษฎร์ธานียังมีพื้นทีปลูก
พื้นที่ให้ผล และปริมาณผลผลิตยางพาราและปาล์มน้ำมันสูงที่สุดในประเทศอีกด้วย ส่วนจังหวัดชุมพรมีความ
โดดเด่นในผลผลิตกาแฟซึ่งมีพื้นที่ปลูก พื้นที่ให้ผล และปริมาณผลผลิตสูงที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ
้
• ยางพารา สถานการณ์การผลตยางพาราในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ปี พ.ศ. 2563 มีเนื้อที่ยืนตน
ิ
4,875,582 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.81 ของประเทศไทย มีเนื้อที่กรีดได้ 4,391,541 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
21.34 ของทั้งประเทศ เนื่องจากนโยบายภาครัฐในการขยายเนื้อที่ปลูกยางพารา ประกอบกับในชวงท ี่
่
ผ่านมาราคาจูงใจให้เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกและต้นยางมีอายุครบเปิดกรีด โดยมีผลผลิต 1,089,993
ตัน และมีผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 245.5 กิโลกรัม ในปี พ.ศ. 2563 นี้ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
รายงานพื้นที่ปลูกยางพาราในจังหวัดสุราษฎร์ธานีรวม 2,336,685 ไร่ เนื้อที่กรีดได้ 2,124,613 ไร่
้
ผลผลิตจำนวน 529,029 ตัน ซึ่งมากที่สุดในประเทศไทย ทั้งนี้ โดยส่วนมากผลผลิตที่ไดจะถูกนำไปทำ
ยางแผ่นรมควัน ยางเครป ยางแท่ง TTR ยางคอมปาวด์ ยางอัดก้อน อบไม้ยางพารา และแปรรูปไม้
ยางพาราเพื่อจำหน่าย
• ปาล์มน ำมัน ในปี พ.ศ. 2563 พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้มีเนื้อที่ยืนต้น 3,249,680 ไร่ คดเป็นร้อย
ิ
ละ 51.49 ของประเทศไทย มีเนื้อที่ให้ผล 3,057,321 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 52.02 ของทั้งประเทศ
เนื่องจากต้นปาล์มน้ำมันที่ปลูกใหม่ในปี พ.ศ. 2555 เริ่มให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น สำหรับผลผลิตมีจำนวน