Page 44 -
P. 44
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
22
้
สำหรับภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตนั้น เนื่องจากลักษณะโครงสร้างการผลิตของ
ประเทศไทยในปัจจุบันได้หันมาให้ความสำคัญกับระบบเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยพัฒนาควบคไป
ู่
้
กับระบบเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรม อุตสาหกรรมของพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตจึงมีโครงสร้างในลกษณะ
ั
เดียวกับอุตสาหกรรมในภาคใต้โดยรวม ที่โดยส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตร เชน
่
อุตสาหกรรมยางพารา อุตสาหกรรมไม้ยางพารา อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน และอุตสาหกรรมอาหารทะเล
แช่แข็ง จากข้อมูลปี พ.ศ. 2563 พบว่า โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ในพื้นทระเบียงเศรษฐกิจภาคใตเป็น
้
ี่
อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการรวมทั้งหมด 2,696 โรงงาน
ี่
(กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2564) โดยมีอุตสาหกรรมหลักของพื้นท เช่น
ั
• อุตสาหกรรมไม้และผลิต ัณ ์จากไม้ ประกอบด้วย การผลิต แปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์ไม้เป็นหลก
เช่น การผลิตไม้อัดและปาร์ติเกิ้ลบอร์ดจากไม้ยางพารา การเลื่อยไม้และไสไม้ และการทำผลิตภัณฑ์
เครื่องเรือน เป็นต้น
• อุตสาหกรรมอาหาร ประกอบด้วย การผลิต สกัดน้ำมันปาล์ม และการแปรรูป/ การเก็บถนอมสตว์น้ำ
ั
และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเป็นหลัก เช่น การผลิตน้ำมันปาล์มดิบ การทำกุ้งแห้งและการผลิตหรือถนอม
อาหารพร้อมรับประทาน เป็นต้น
• อุตสาหกรรมยางพารา ประกอบด้วย การผลิต แปรรูปยางพาราและผลิตภัณฑ์ เช่น การผลิตแทงยาง
่
TTR และยางแผ่นรมควัน ผลิตภัณฑ์ยาง น้ำยางข้นและยางแผ่น เป็นต้น
ซึ่งจะเห็นได้ว่า จากข้อมูลโครงสร้างการผลิตของภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมดังกลาว พื้นทระเบียง
่
ี่
เศรษฐกิจภาคใตมีความโดดเด่นในด้านของการเกษตรกรรมปาล์มน้ำมัน ยางพารา สัตว์น้ำเศรษฐกิจ และ
้
อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนา
ศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) จะต้องมีการกำหนดอุตสาหกรรมและ
เกษตรกรรมเป้าหมายในการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับจัดทำแผนเพื่อ
้
การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตต่อไป
้
2.3 อุตสาหกรรมศักย าพของ าคใต ้
จากข้อมูลบริบททางเศรษฐกิจของภาคใต้ทั้งภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม รวมถึงจากการศกษา
ึ
ี่
นโยบายและแนวคิดในการพัฒนาพื้นทเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญ
้
การวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตจะเห็นได้ว่า ภาคใต้มีศักยภาพและความพร้อมของพื้นที่ในบริบททาง
เศรษฐกิจ ดังนี้