Page 48 -
P. 48
ิ
ิ
ิ
ื
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
26
2.3.1 อุตสาหกรรมปาล์มน ำมัน
ี่
ปาล์มน้ำมัน ถือเป็นพืชเศรษฐกิจทมีความสำคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน และมีบทบาทอย่างมาก
ต่อภาคการเกษตรของไทยในปัจจุบัน โดยประเทศไทยมีผลผลิตน้ำมันปาล์มเป็นอันดับที่ 3 ของโลก คือ 3.12
ล้านตัน (ปี พ.ศ. 2564) แต่คิดเป็นสัดส่วนน้อยเพียงร้อยละ 4.08 ของผลผลิตน้ำมันปาล์มโลกเทานั้น (United
่
States Department of Agriculture, 2021) จึงทำให้ไม่มีอำนาจหรือบทบาทที่จะกำหนดทิศทางราคาอย่าง
อินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันและโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบของไทยส่วนใหญ่จะอยูใน
่
ภาคใต้ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 85.49 ของพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั่วประเทศ โดยเฉพาะในจังหวัด
สุราษฎร์ธานี กระบี่ และชุมพร (สัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 66.96) ที่เหลือร้อยละ 14.51 กระจายอยูใน
่
ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งหันมาปลูกปาล์มน้ำมันเพิ่มขึ้นในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
(พ.ศ. 2552 - 2561) ตามยุทธศาสตร์ของแผนพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกของประเทศ สำหรับปี
พ.ศ. 2563 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั้งสิ้น 6.31 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.41 จากปี พ.ศ. 2562
ในขณะที่ มีพื้นที่ให้ผลผลิตอยู่ที่ 5.88 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.78 และผลผลิต 15.66 ล้านตัน ลดลงร้อยละ
4.58 เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้ง และภาวะ นทิ้งช่วงโดยเฉพาะในแหล่งผลิตสำคัญ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา,
2563; สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564b)
นอกจากนี้ ปาล์มน้ำมันยังเป็นวัตถุดิบที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมอาหาร
เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมเทียมและเนยเทียม ตลอดจน อุตสาหกรรมพลังงานของ
ประเทศที่สามารถนำน้ำมันปาล์มมาเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตไบโอดีเซล ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนน้ำมันดีเซล
ที่มีราคาสูงขึ้น (วิชัย และคณะ, 2558)
2.3.1.1 ห่วงโ ่อุปทานของอุตสาหกรรมปาล์มน ำมัน
ในห่วงโซ่อุปทานปาล์มน้ำมันของประเทศไทยมีกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนและอุตสาหกรรมท ี่
เกี่ยวเนื่องจำนวนมาก เมื่อจำแนกตามกระบวนการขั้นตอน ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันจะ
ประกอบด้วย 1. การผลิตวัตถุดิบต้นน้ำ ซึ่งประกอบด้วยการเพาะปลูกของเกษตรกรเป็นหลัก 2. การแปรรูป
กลางน้ำ ประกอบด้วยการแปรรูปขั้นต้น โดยจะไดผลิตภัณฑ์ คือ น้ำมันปาล์มดิบ และ 3. การแปรรูปปลายน้ำ
้
่
ประกอบด้วยการแปรรูปขั้นสูงเพื่อให้ได้น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์และนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดยในแตละ
ขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทานจะมีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งจะแสดงรายละเอียด ใน
บทที่ 2.4.2
2.3.1.2 ปัญหาเชิงล กของกลุ่มธุรกิจปาล์มน ำมันในพื นที่ าคใต ้
จากการศึกษาข้อมูลธุรกิจปาล์มน้ำมันในพื้นทภาคใต้ ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มี
ี่
ความเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานปาล์มน้ำมัน ทำให้สามารถสรุปประเด็นปัญหาที่เป็นข้อจำกัดในการพัฒนา
ธุรกิจปาล์มน้ำมันได ดังนี้
้