Page 50 -
P. 50
ิ
์
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
28
โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบขนาดเล็กยังขาดการพัฒนาทางด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
จึงทำให้มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยสูงกว่าโรงงานขนาดใหญ่
1
• ขาดความรู้พื นฐานในการดูแลสวนปาล์มเบื องต้น อาทิ ปริมาณของปุ๋ยที่จ าเป็น และขาดความเข้าใจการใช้อุปกรณ์ทุ่นแรงที่ถูกต้อง
เกษตรกรขาด
องค์ความรู้ • เกษตรกรไม่ยอมเปลี่ยนแปลงพ ติกรรมการท างาน ส่งผลท าให้ไม่เกิดการใช้งานเครื่องทุ่นแรงหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ
• ขาดการเก บบันท กข้อมูล ทั้งพื้นที่ปลูก จ านวนต้นปาล์ม และผลผลิตต่อปี
2 • ขาดแคลนแรงงานตัดปาล์ม เนื่องจากแรงงานมีจ ากัดและต้องมีทักษะเฉพาะ โดยสวนปาล์มกว่าร้อยละ 80 จ้างคนนอกเก็บเกี่ยว
ปัญหาแรงงาน
และการขาด • ขาดการรวมกลุ่มกันท าให้บริหารจัดการแรงงานตัดปาล์มไม่ได้ โดยไทยใช้แรงงานมากกว่ามาเลเซียถึง 2 เท่าตัว
• ขาดการใช้เครื่องทุ่นแรงในกระบวนการดูแลสวนปาล์ม เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย ไม่มีก าลังในการลงทุน
เครื่องทุ่นแรง
• เครื่องทุ่นแรงที่มีการพั นามาในอดีตไม่เหมาะสมกับส าพการใช้งานในสวนจริง อาทิ อุปกรณ์ตัดผลปาล์ม/เก็บลูกร่วง
ขาดการบริหาร • ขาดการวางระบบการจัดการน าในสวนปาล์มที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ
จัดการสวนที่ • ไม่สามารถวิเคราะห์คุณ าพชุดดินในพื นที่ของเกษตรกรได้ครบ เนื่องจากการตรวจสอบคุณภาพของชุดดินที่ถูกต้องใช้เวลาค่อนข้าง
นาน และเกษตรกรขาดการบันท กข้อมูลในการดูแลสวนปาล์ม อาทิการใส่ปุ๋ย ท าให้ไม่สามารถวัดคุณภาพของชุดดินได้ถูกต้อง
เหมาะสม
• ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลและประมวลผลร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่ละหน่วยงานต่างมีชุดข้อมูลที่ต่าง ่ายต่างจัดเก็บ
4
• ขาดการจัดเก บผลปาล์มตามคุณ าพ ท าให้โรงงานสกัดต้องรับซื้อผลสุกและอ่อนปนกัน ส่งผลให้สกัดน้ ามันได้น้อย เนื่องจากเกิดการ
การสูญเสียของ สูญเสียจากการสกัดผลอ่อนที่ไม่สามารถแยกน ามันออกจากทะลายได้หมดเพราะยังมีน้ ามันหลงเหลืออยู่ในไฟเบอร์ (Fiber)
โรงงานสกัด • โรงงานสกัดน ามันปาล์มดิบขนาดเล กยังขาดการพั นาทางด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต จึงท าให้มีประสิทธิภาพการผลิตต่ า
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยสูงกว่าโรงงานขนาดใหญ่
รูปที่ 2-10 ปัญหาเชิงลึกของของกลุ่มธุรกิจปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม
ที่มา: สรุปจากการสัมภาษณ ์
ี่
โดยจะเห็นได้ว่าประเด็นท 1. เกษตรกรขาดองค์ความรู้ในการดูแลสวนปาล์ม 2. ปัญหาแรงงานและ
การขาดเครื่องทุ่นแรงเนื่องจากไม่มีความสามารถในการลงทุน และ 3. ขาดการบริหารจัดการดูแลสวนปาล์ม
และการบริหารจัดการข้อมูลที่เหมาะสม เป็นปัญหาด้านต้นน้ำ ส่วนประเด็นที่ 4. การสูญเสียของโรงงานสกัด
น้ำมัน เป็นปัญหาด้านกลางน้ำ
์
์
ทั้งนี้ จากปัญหาและสถานการณเรื่องกลุ่มปาลมน้ำมันในปัจจุบัน รวมถึง การสัมภาษณ์กลุ่มผมีสวนไดสวน
ู้
่
้
่
เสียในวงจรห่วงโซ่การผลตเพื่อรวบรวมความต้องการด้านการวิจัยกลุ่มปาล์มน้ำมันทจำเป็นในการรองรับความ
ี่
ิ
ั
ต้องการในอนาคตสำหรับจัดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจยเพื่อมุ่งสู่ฐานการพัฒนา SECr ในแต่ละช่วงระยะเวลา
่
ุ
พบว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจปาล์มน้ำมันมักให้ความสำคัญตั้งแตการพัฒนาพันธุ์ปาล์มน้ำมันและปุ๋ยให้มีคณภาพ
ื
ั
มากขึ้น การส่งเสริมความรู้ให้แก่เกษตรกรด้านการเลอกพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้เหมาะสมกับพื้นที่ การจดการสวน
ปาล์มน้ำมันที่ถูกต้องทงการบำรุงดินและการบริหารจัดการน้ำที่ดเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้น รวมถึง
ั้
ี
การส่งเสริมเกษตรกรให้เก็บเกี่ยวผลปาล์มน้ำมันที่มีคุณภาพ ควบคุมจุดรับซื้อผลปาล์มน้ำมันไม่ให้รับซื้อผล
้
ปาล์มน้ำมันที่ไม่ไดมาตรฐาน ตลอดจน ส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมันมีการรวมกลุ่มเพื่อเสริมสร้าง
อำนาจการต่อรองและสร้างเสถียรภาพด้านราคา ต้นทุนการผลิต ความมั่นคง และคุณภาพของวัตถุดิบ ซึ่ง
ปัญหาหรือความต้องการต่าง ๆ เหล่านี้ สามารถนำมาสร้างเป็นโจทย์งานวิจัยที่ควรให้ความสำคัญในอนาคตได ้
2.3.2 อุตสาหกรรมยางพารา
ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคญของประเทศ สามารถทำรายได้เข้าประเทศได้ปีละหลายแสนล้านบาท
ั
ิ
โดยในปี 2563 ประเทศไทยมีมูลคาการส่งออกยางพาราและผลตภัณฑ์รวมทั้งสิ้น 407,858.75 ล้านบาท (กอง
่
การยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2564) ประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกยางพารามากเป็น
์