Page 67 -
P. 67
ิ
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
45
การจัดท าแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพั นา SECr จะมีการศ กษาอุตสาหกรรม
ปาล์มน ามันเพื่อประกอบการก าหนดทิศทางการวิจัยเชิงพื นที่ก่อนเป นล าดับแรก
1 ปาล์มน ามัน 2 ยางพารา 3 การแปรรูปสัตว์น า
• ในปี 63 มีผลผลิตปาล์มน ามันในประเทศสูงถ ง • ในปี 63 มีผลผลิตยางแผ่นดิบในประเทศ 4.6 ล้าน • ผลผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี ยงในประเทศมีแนวโน้มการ
16.2 ล้านตัน เนื้อที่ให้ผล 5.9 ล้านไร่ โดยมี ตัน เนื้อที่ยืนต้นกว่า 22.4 ล้านไร่ โดยแนวโน้มการ เลี้ยงในประเทศไทยเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี
แนวโน้มการปลูกปาล์มน้ ามันในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ปลูกยางพาราในประเทศไทยลดลงในทุก ๆ ปี สวน • ภาคใต้มีผู้เกี่ยวข้องในห่วงโ ่อุปทาน ประกอบด้วย
อย่างต่อเนื่อง ทางกับเนื้อที่กรีดได้ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เกษตรกร 6,446 ราย (เฉพาะผู้ที่ท าการเพาะเลี้ยง
• ภาคใต้มีผู้เกี่ยวข้องในห่วงโ ่อุปทาน ประกอบด้วย • ภาคใต้มีผู้เกี่ยวข้องในห่วงโ ่อุปทาน ประกอบด้วย สัตว์น้ าเพียงอย่างเดียวเท่านั้น) และผู้ประกอบการ
เกษตรกร 0.3 ล้านครัวเรือน และผู้ประกอบการ เกษตรกร 0.6 ล้านราย และผู้ประกอบการ 502 139 ราย
181 ราย ราย
รูปที่ 2-15 อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป้าหมายในการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต (ระยะแรก)
้
2.4 อุตสาหกรรมปาล์มน ำมัน
ปาล์มน้ำมัน ถือเป็นพืชเศรษฐกิจทมีความสำคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน และมีบทบาทอย่างมาก
ี่
ต่อภาคการเกษตรของไทยในปัจจุบัน โดยประเทศไทยมีผลผลิตน้ำมันปาล์มเป็นอันดับที่ 3 ของโลก คือ 3.12
่
ล้านตัน (ปี พ.ศ. 2564) แต่คิดเป็นสัดส่วนน้อยเพียงร้อยละ 4.08 ของผลผลิตน้ำมันปาล์มโลกเทานั้น (United
States Department of Agriculture, 2021) จึงทำให้ไม่มีอำนาจหรือบทบาทที่จะกำหนดทิศทางราคาอย่าง
่
อินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันและโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบของไทยส่วนใหญ่จะอยูใน
ภาคใต้ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 85.49 ของพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั่วประเทศ โดยเฉพาะในจังหวัด
สุราษฎร์ธานี กระบี่ และชุมพร (สัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 66.96) สำหรับปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยมี
พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั้งสิ้น 6.31 ล้านไร่ ในขณะที่ มีพื้นที่ให้ผลผลิตอยู่ที่ 5.88 ล้านไร่ และผลผลิต 15.66
ิ
ล้านตัน (ธนาคารกรุงศรี-อยุธยา, 2563; สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564b) โดยปาล์มน้ำมันเป็นวัตถุดบท ี่
สำคัญต่ออุตสาหกรรมต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้น
หวาน ครีมเทียมและเนยเทียม ตลอดจน อุตสาหกรรมพลังงานของประเทศทสามารถนำน้ำมันปาล์มมาเป็น
ี่
วัตถุดิบสำคัญในการผลิตไบโอดีเซล ซึ่งเปนพลังงานทดแทนน้ำมันดีเซลที่มีราคาสูงขึ้น (วิชัย และคณะ, 2558)
็
2.4.1 สถานการณ์ปัจจุบันในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการพั นาอุตสาหกรรมปาล์มน ำมันไทย
น้ำมันปาล์ม เป็นน้ำมันจากพืชที่มีต้นทุนการผลิตต่ำสุดเมื่อเทียบกับน้ำมันจากพืชชนิดอื่น ๆ อาทิ น้ำมัน
ถั่วเหลือง น้ำมันเรปซีด (Rapeseed) น้ำมันจากเมล็ดดอกทานตะวัน น้ำมันมะพร้าว และน้ำมันมะกอก ส่วน
หนึ่งเป็นผลจากผลผลิตต่อไร่ของผลปาล์มสดจะสูงกว่าพืชน้ำมันชนิดอื่น 6 - 10 เทา (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา,
่
2563) ทำให้ปาล์มน้ำมันเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมาก โดยภูมิภาคอาเซียนถือเป็นแหล่ง