Page 72 -
P. 72
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
50
การบริโภคและเพื่อผลิตพลังงานทดแทน เนื่องจากมาตรการส่งเสริมการใช้น้ำมันดีเซลหมุนเร็วบี 10 เป็นน้ำมัน
ดีเซลมาตรฐาน และการใช้น้ำมันดีเซลหมุนเร็วบี 20 และ บี 7 เป็นทางเลือก ดำเนินการได้ตามเป้าหมาย
4. การส่งออก
ในช่วงปี พ.ศ. 2559 - 2563 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.84 และ 2.91 ต่อปี ตามลำดับ โดยในปี พ.ศ. 2563 มีปริมาณการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและ
่
ผลิตภัณฑ์ 321,760 ตัน ลดลงจาก 380,877 ตัน ในปี พ.ศ. 2562 ร้อยละ 15.52 ในขณะที่มีมูลค่าการสงออก
ิ
์
7,052 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 6,695 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2562 ร้อยละ 5.33 เนื่องจากราคาน้ำมันปาลมดบใน
่
ี
ี่
ตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นเมื่อเทียบกับปทผ่านมา ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2564 คาดว่าจะมีปริมาณการสงออก
น้ำมันปาล์มดิบและผลิตภัณฑ์ของไทย 350,000 ตัน มูลค่า 7,700 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ
8.78 และ 9.19 ตามลำดับ เนื่องจากราคาน้ำมันปาล์มดิบในตลาดโลกยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูง ส่งผลทำให้
ไทยมีความสามารถในการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น
ิ
ั
• การส่งเสริมสนับสนุนการจดทำมาตรฐานในการผลตปาล์มน้ำมันตามมาตรฐาน RSPO (Roundtable
on Sustainable Palm Oil) ของไทย ส่งผลทำให้น้ำมันปาล์มดิบของไทยเป็นที่ยอมรับและเป็นท ี่
ต้องการของตลาดยุโรปเพิ่มมากขึ้น
่
• ค่าเงินริงกิตของมาเลเซียในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2559 - 2563) มีแนวโน้มอ่อนค่าลงร้อยละ 5.40 ตอ
ปี ส่งผลโดยตรงต่อความสามารถในการส่งออกน้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์ของไทย
5. การนำเข้า
ช่วงปี 2559 - 2563 ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบและผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มลดลง
ร้อยละ 7.59 และ 14.00 ต่อปี ตามลำดับ โดยในปี พ.ศ. 2563 มีปริมาณการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบและ
ผลิตภัณฑ์ 82,820 ตัน มูลค่า 2,704 เพิ่มขึ้นจาก 72,959 ตัน มูลค่า 2,376 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2562 ร้อยละ
13.52 และ 13.80 ตามลำดับ โดยคาดว่าในปี พ.ศ. 2564 จะมีปริมาณการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบและผลตภัณฑ์
ิ
้
ของไทยสูงขึ้นอีก เป็น 85,000 ตัน มูลค่า 2,950 ลานบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.63 และ 9.10 ตามลำดับ)
ึ้
เนื่องจากราคาน้ำมันปาลมดบภายในประเทศปรับตัวเพิ่มขนสูงกว่าราคาตลาดโลก ส่งผลให้มีการนำเข้าน้ำมัน
ิ
์
้
ปาล์มดิบและผลิตภัณฑ์มาใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพิ่มขึ้นเพื่อลดต้นทุนการผลิต รวมถึงมาตรการนำเขามา
เพิ่มมูลค่าเพื่อการส่งออก
6. ความท้าทายของอุตสาหกรรมปาล์มน ำมันและน ำมันปาล์มไทย
ปัจจุบันอุตสาหกรรมปาล์มของประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหาความท้าทายในหลาย ๆ ด้าน เช่น ความไม่
สมดุลของวัตถุดิบที่มีความผันผวนทั้งด้านปริมาณ เวลา ราคา และคุณภาพ ซึ่งส่งผลต่อความสามารถใน
การบริหารจัดการวัตถุดิบของผู้ประกอบการ และเนื่องจากอุปทานวัตถุดิบ (Supply) ไม่สอดคล้องกับอุปสงค ์
ของภาคอุตสาหกรรม (Demand) ในการรองรับวัตถุดิบเพื่อแปรรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อเนื่องให้
ราคาสินค้ามีความผันผวนไปด้วย โดยในปี พ.ศ. 2563 - 2565 นี้ คาดว่าอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มโดยรวมจะยัง
ซบเซาโดยความต้องการใช้มีแนวโน้มเติบโตต่ำ ขณะที่ราคายังถูกกดดันจากภาวะอุปทานส่วนเกิน ซึ่งเป็นผล