Page 75 -
P. 75
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
53
ุ่
• กระแสการให้ความสำคัญต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทกำลังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในกลม
ี่
สหภาพยุโรป (หนึ่งในผู้บริโภคน้ำมันปาล์มหลักของโลก) จากข้อกังวลทางด้านสภาพแวดล้อมจาก
การผลิตปาล์มในเชิงอุตสาหกรรม นำมาซึ่งข้อเรียกร้องให้มีการลดสัดส่วนการใช้น้ำมันปาลมเพือเป็น
์
่
ี
ส่วนผสมในการผลิตเชื้อเพลิงไบโอดเซลในสหภาพยุโรป ทำให้คณะกรรมาธิการยุโรป คณะมนตรียุโรป
และสภายุโรป มีมติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ให้แก้ไขปรับปรุงกฎระเบียบพลังงานหมุนเวียน
ิ
ใหม่ (Renewable Energy Directive, RED II) โดยเรียกร้องให้ประเทศสมาชกลดสัดส่วนเชื้อเพลง
ิ
เหลวที่ผลิตจากน้ำมันปาล์มให้เป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2573 ส่งผลให้เกิดกระแส “Zero Palm Oil”
ในภาคขนส่งของยุโรป ซึ่งปัจจัยจากมาตรการดังกล่าวย่อมจะส่งผลกระทบเชิงลบต่อประเทศผู้ผลต
ิ
ปาล์มน้ำมันรายใหญ่ของโลก ทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย โดยเฉพาะผลกระทบจากราคาปาล์ม
น้ำมันที่ปรับลดลง (ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ, 2561)
• ปัจจัยท้าทายจากการให้ความสำคัญกับสุขภาพทำให้เกิดกระแส “Palm Oil Free” ในสินค้าอาหาร
์
ต่าง ๆ ในยุโรป เนื่องจากน้ำมันปาลมถูกมองว่าเปนแหล่งไขมันอิ่มตัว (Saturated Fat) และมีสารก่อ
็
มะเร็งในปริมาณมากเมื่อเทียบกับพืชน้ำมันอื่น ๆ ซึ่งจะส่งผลเสียต่อสขภาพ (เปิดเผยโดยองคกรความ
์
ุ
ปลอดภัยด้านอาหารสหภาพยุโรป (EFSA))
• มาตรการกีดกันจากประเทศผนำเข้ารายใหญ่โดยเฉพาะอินเดีย ที่มีการเพิ่มภาษีนำเข้าน้ำมันพืชทก
ุ
ู้
ึ้
ชนิด (โดยเฉพาะน้ำมันปาล์มดิบเพิ่มขนจากร้อยละ 15 เป็นร้อยละ 30 และน้ำมันปาล์มผ่านกรรมวิธี
การกลั่นจากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 40) ซึ่งจะส่งผลกดดันต่อราคาน้ำมันปาล์มดบ ประกอบกับการท ี่
ิ
อินเดียซึ่งเป็นตลาดส่งออกหลักของไทยปรับลดอัตราภาษีนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบให้แก่มาเลเซียและ
่
อินโดนีเซีย แตยังคงอัตราภาษีนำเข้าของไทยไว้ที่ระดับเดิม
ิ
์
นอกจากนี้ การจัดการผลผลิตของเกษตรกรไทยยังขาดประสทธิภาพ เช่น กระบวนการคัดเลือกพันธุ์ปาลม
ั้
่
้
์
การบำรุงรักษา การเก็บเกี่ยว และเก็บรักษาผลปาล์มสด อีกทงการขายผลปาลมสดมักต้องผานพ่อคาคนกลาง
ุ้
ิ
่
ี่
หรือลานเทปาล์มน้ำมันที่อยู่ในบริเวณใกล้เคยงเท่านั้น เนื่องจากปริมาณผลผลตต่อรายน้อยจึงไม่คมทจะขนสง
ี
ไปขายตรงกับโรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบ ซึ่งหลายปัจจัยดงทกล่าวมาข้างต้น ทำให้ไทยไม่สามารถเปิดเสรีการค้า
ี่
ั
น้ำมันปาล์มภายใต้กรอบข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area, AFTA) ได้จนถึงปัจจุบัน
(ธนาคารกรุงศรี-อยุธยา, 2563; ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2562; สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563a;
United States Department of Agriculture, 2021)
2.4.1.3 โควิด-1 กับอุตสาหกรรมปาล์มน ำมันไทย
ปัจจุบันอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันต้องเผชิญกับปัจจยลบครั้งใหญ่ คือ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส
ั
โควิด-19 ที่แพร่กระจายเป็นวงกว้าง ส่งผลให้พฤติกรรมทางการค้าและการประกอบธุรกิจเปลี่ยนไปเป็นอย่าง
ี่
มาก โดยเฉพาะการจับจ่ายซื้อสินค้า การบริโภค การท่องเที่ยว ทเชื่อมโยงถึงความต้องการใช้น้ำมันปาลมทั้ง
์
ระบบที่เกี่ยวข้องกับทั้งอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมพลังงาน จึงทำให้อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันไทย
ื่
ต้องรับแรงสั่นสะเทือนไปด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ราคาปาล์มน้ำมันของไทยยังคงเคลอนไหวตามปัจจัยพื้นฐานใน