Page 76 -
P. 76
ิ
ิ
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
54
ประเทศเป็นหลัก เนื่องจากมีมาตรการจำกัดการนำเข้าน้ำมันปาล์มเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ จึงทำ
่
ให้แนวโน้มราคาในตลาดโลกส่งผลทางอ้อมต่อราคาน้ำมันปาล์มในประเทศไทยเทานั้น
ผลกระทบของโควิด-19 ต่ออุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันมีทั้งใน ั งของอุปสงคและอุปทาน เนื่องจากกำลังซื้อท ี่
์
ลดลง เมื่อแต่ละประเทศประกาศมาตรการคุมเข้มในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส ทำให้มีการปิด
่
ประเทศ ห้ามเดินทางเข้า - ออก โดยเฉพาะระหว่างประเทศ ส่งผลให้ภาคการทองเที่ยวลดลงและหยุด
ให้บริการในหลายกลุ่ม โดยเฉพาะภาคการขนส่งที่ใช้น้ำมันดีเซลและไบโอดีเซลซึ่งใช้วัตถุดิบน้ำมันปาล์มเป็น
ส่วนผสม ดังนั้นจึงทำให้ปริมาณความต้องการน้ำมันปาล์มลดลงในทันที เพราะระบบขนส่งที่ใช้น้ำมันดีเซลบี 10
ี่
และบี 20 หยุดให้บริการเดินรถกว่า 1,000 คัน ทำให้ความต้องการใช้น้ำมันลดลงเช่นกัน ขณะท กลุ่มบริโภค
ลดปริมาณการซื้อลงเมื่อโรงแรมและร้านอาหารที่ใช้น้ำมันปาล์มในการประกอบอาหารลดความต้องการลง
่
อย่างต่อเนื่องเพราะไม่มีนักท่องเที่ยว (กฤษดา, 2563) นอกจากนี้ การระบาดของโควิด-19 ยังส่งผลกระทบตอ
อุตสาหกรรมต่อเนื่อง ส่งผลให้อินเดีย (ตลาดส่งออกอันดับ 1 สัดส่วนร้อยละ 75 ของปริมาณส่งออก CPO
ทั้งหมด) หันไปนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบจากมาเลเซียและอินโดนีเซียมากขึ้นด้วย (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2564)
ี่
สำหรับผลกระทบทจะมีต่อโครงสร้างอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มของไทย หลังเกิด
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในปี พ.ศ. 2564 คือ
• สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดว่าปาล์มน ้ามันจะมีเนื้อที่ให้ผล 6.08 ล้านไร่ ผลผลิต 16.37
้
ล้านตัน คิดเป็นน ้ามันปาล์มดิบ 2.947 ล้านตัน (อัตราสกัดน ้ามันร้อยละ 18) เพิ่มขึ้นจาก 16.17 ลาน
ตัน ในปี พ.ศ. 2563 คิดเป็นร้อยละ 1.24 เนื่องจากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมารายได้จากการปลูกปาลมน ้า
์
มันโดยเปรียบเทียบสูงกว่าพืชทางเลือกอื่น ประกอบกับเกษตรกรมีแรงจูงใจจากโครงการประกันรายได ้
ส่งผลให้เกษตรกรหันมาปลูกปาล์มน้ำมันเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกรมีการขยายเนื้อที่ปลูกปาลมน ้ามันใน
์
ปี พ.ศ. 2561 แทนยางพารา เงาะ และลองกอง ซึ่งต้นปาล์มน้ำมันในช่วงก่อนหน้าทยอยอยู่ในเกณฑ์
่
อายุที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูงโดยได้เริ่มให้ผลผลิตตั้งแตในช่วงปลายปี 2563 - 2564 แตเมื่อพิจารณาผล
่
ปาล์มน ้ามันในชวงครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2564 พบว่า มีปริมาณ 9.06 ล้านตัน (คิดเป็นร้อยละ 55.35
่
ของผลผลิตทั้งหมด) ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2563 ที่มีปริมาณ 9.27 ล้านตัน หรือลดลงร้อย
ั
ละ 2.27 สำหรับในช่วงครึ่งปีหลังของปี พ.ศ. 2564 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 7.31 ล้านตน
เพิ่มขึ้นจาก 6.90 ล้านตัน ในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2563 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.94
• กรมการค้าภายในรายงานปริมาณสต๊อกน ้ามันปาล์มดิบคงเหลือ ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 จาก
การแจ้งของผู้ประกอบการตามประกาศว่ามีจำนวน 2.92 แสนตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนพฤษภาคมร้อยละ
11.74 เนื่องจากผลผลิตปาล์มเริ่มออกสู่ตลาดมากขึ้นแตความต้องการใช้อุปโภคบริโภคและด้าน
่
พลังงานลดลง จากผลกระทบของการระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ ส่งผลทำให้ ณ วันที่ 4
พฤษภาคม ราคาผลปาล์มทะลาย (อัตราหีบสกัดน้ำมันร้อยละ 18) มีมูลค่าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 4.60 -
5.30 บาทต่อกิโลกรัม ราคาน ้ามันปาล์มดิบเฉลี่ย 32.50 - 32.75 บาทต่อกิโลกรัม ส่วนราคาน ้ามัน
ปาล์มดิบตลาดมาเลเซียเฉลี่ย 32.65 บาทต่อต่อกิโลกรัม และมีราคาจำหน่ายปลีกน ้ามันพืชปาลมขวด
์
1 ลิตร ที่ 45 - 48 บาทต่อขวด