Page 78 -
P. 78

ิ
                                          ิ
                                             ์
                                                                              ิ
                                                                  ิ
                            ื
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                         56
            ผลตอบแทนสูงมากขึ้นด้วยการส่งเสริมการใช้ข้อมูล เทคโนโลยี และการตลาดที่ยั่งยืน เพื่อให้เกษตรกรได้มี

                                                                                                 ิ
                                                                                     ่
            เครื่องมือบริหารความเสี่ยงมากขึ้น และควรจะต้องต่อยอดอุตสาหกรรมไปสู่การสร้างมูลคาเพิ่มให้แก่ผลตภัณฑ์
            จากปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มทั้งระบบภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ของรัฐบาลด้วย
                                                                      ี่
                                                                                                    ี
            การเร่งยกระดับอุตสาหกรรมโอลิโอเคมิคอล (Oleochemical) แทนทน้ำมันพืช (น้ำมันปาล์ม) และไบโอดเซล
                                                   ่
                                                                                                  ั
            ซึ่งจะเป็นการดูดซับผลผลิตปาล์มและสร้างมูลคาเพิ่มอย่างสูง ส่งผลให้สามารถลดความเสี่ยงจากความผนผวน
            ด้านราคาจากการขายในรูปผลตภัณฑ์ทางการเกษตรพื้นฐาน ราคาปาล์มมีเสถียรภาพ เพิ่มขีดความสามารถใน
                                     ิ
            การแข่งขัน และเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งจะถือเป็นการบรรเทาผลกระทบจากสถานการณการระบาดของ
                                                                                          ์
            ไวรัสโควิด-19 อีกทางหนึ่งด้วย (ข่าวสดออนไลน์, 2563; ณรงค์ฤทธิ์และศิรดา, 2563; ไทยโพสต์, 2564;

            บ้านเมือง, 2564)

            2.4.2 ห่วงโ ่อุปทานของอุตสาหกรรมปาล์มน ำมัน

                ในห่วงโซ่อุปทานปาล์มน้ำมันของประเทศไทย มีกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนและอุตสาหกรรมท ี่

            เกี่ยวเนื่องจำนวนมาก เมื่อจำแนกตามกระบวนการขั้นตอน ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันจะ

            ประกอบด้วย 1. การผลิตวัตถุดิบต้นน้ำ ซึ่งประกอบด้วยการเพาะปลูกของเกษตรกรเป็นหลัก 2. การแปรรูป
            กลางน้ำ ประกอบด้วยการแปรรูปขั้นต้น โดยจะได้ผลิตภัณฑ์ คือ น้ำมันปาล์มดิบ และ 3. การแปรรูปปลายน้ำ

                                                                                         ่
                                                                          ้
            ประกอบด้วยการแปรรูปขั้นสูงเพื่อให้ได้น้ำมันปาล์มบริสทธิ์และการนำไปใชในอุตสาหกรรมตอเนื่อง โดยในแต ่
                                                          ุ
                                                   ่
            ละขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทานจะมีการสร้างมูลคาเพิ่มให้กับสินค้าในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
                1.  การผลิตวัตถุดิบต้นน ำ (กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน ำมัน) ผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน
                    ต้นน้ำ คือ ผลปาล์มสดที่อยู่ในรูปของทะลายปาล์ม ซึ่งมาจากการเพาะปลูกของเกษตรกร ทั้งรายย่อยท ี่

                    มีการผลิตปาล์มน้ำมันจำนวนน้อย และเกษตรกรในกลุ่มสหกรณ์ผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน หรือนิคมสร้าง

                    ตนเองที่เกิดจากการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรที่มีพื้นที่เพาะปลูกใกล้เคียงกัน รวมถึงบริษัทเอกชน
                    ผู้ผลิตปาล์ม เนื่องจากปาล์มน้ำมันไม่สามารถบริโภคโดยตรงได้ ต้องนำไปผ่านการสกัดเพื่อแปรรูปเป็น

                                                                                 ์
                    น้ำมันปาล์มก่อนนำไปใชประโยชน์ ดังนั้น จึงเป็นการผูกขาดตลาดของปาลมน้ำมัน โดยเกษตรกรตอง
                                                                                                     ้
                                        ้
                    นำส่งเข้าสู่ลานเท และส่งให้โรงงานสกัดน้ำมันต่อไป
                   1.1 เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน ำมัน ปาล์มน้ำมันเหมาะสมกับสภาพอากาศร้อนชื้นในบริเวณใกล้เคยง
                                                                                                     ี
                                                                                          ่
                        กับเส้นศูนย์สูตร ซึ่งจะเจริญเติบโตได้ดีในภาคใต้และบางส่วนของภาคกลางตอนลาง โดยจังหวัดท ี่
                                                                                                      ์
                        มีการเพาะปลูกปาล์มน้ำมันสูงที่สุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างไรก็ตาม ยังมีการปลูกปาลม
                                                                                        ์
                        น้ำมันในพื้นที่อื่นกระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศอีกด้วย โดยสามารถแบ่งผปลูกปาลมออกเป็น 3 กลม
                                                                                                      ุ่
                                                                                ู้
                        ได้แก่
                         •  บริษัทเอกชนผู้ผลิตปาล์ม เป็นกลุ่มโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มที่มีสวนปาล์มเป็นของตัวเอง

                            เนื่องจากมีเงินลงทุนสูงทำให้มีการนำเทคโนโลยีมาใชในการปลูกปาลม รวมถึงมีการบริหาร
                                                                       ้
                                                                                    ์
                            จัดการที่ดี ส่งผลให้ได้ปริมาณผลผลิตต่อไร่ค่อนข้างสูงกว่ากลุ่มอื่น คือ ประมาณ 3.0 - 3.5
                            ตันต่อไร่
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83