Page 83 -
P. 83

์
                                                                  ิ
                                          ิ
                            ื
                               ิ
                                                                              ิ
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                              61
                         3.5 โรงงานอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ขั้นปลายเช่นเดยวกัน โดย
                                                                                                   ี
                             ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปน้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์จะถูกนำไปแปรรูปอย่าง
                             หลากหลาย เพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมอาหาร สามารถ

                             นำไปใช้ในการผลิตนมข้นหวาน บะหมี่ ไอศกรีม ครีมเทียม อุตสาหกรรมอาหารสตว์จากใบปาลม
                                                                                                           ์
                                                                                                ั
                             หรือกากเนื้อเมล็ดปาล์ม อุตสาหกรรมเครื่องสำอางและอุตสาหกรรมสบู่โดยใช้กรดที่ได้จาก
                             การสกัดปาล์ม เช่น กรดสเรียริค กรดไมริสติก กรดปาล์มมิติก และกรดสเตียริก รวมถึง

                                                                                                           ิ
                             อุตสาหกรรมอื่น ๆ เช่น อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรมขุดเจาะ อุตสาหกรรมพลาสตก
                             อุตสาหกรรมยางรถยนต์ อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมสี อุตสาหกรรมเทียนไข อุตสาหกรรมสิ่ง

                             ทอ และอุตสาหกรรมยาง เป็นต้น (กรมการค้าภายใน, 2564b; ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2563;
                             สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.), 2561; สำนักงานเศรษฐกิจ

                             การเกษตร, 2563a)

                                                                                                           ั้
                      ซึ่งจะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันของไทยมีจุดแข็งจากการมีห่วงโซ่การผลิตที่ครบวงจร ทง
                  เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันประมาณ 3.36 แสนครัวเรือนทั่วประเทศ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564a)

                                                         ์
                                                                                                           ิ
                  ซึ่งส่วนมากเป็นรายย่อย โรงงานสกัดน้ำมันปาลมดิบ (อุตสาหกรรมขั้นกลาง) จำนวน 133 แห่ง กำลงการผลต
                                                                                                    ั
                                                                                                       ู่
                  ประมาณ 2.80 ล้านตันต่อปี โดยผู้ผลิตรายใหญ่มักขยายการลงทุนสวนปาล์มและเพาะพันธุ์ปาล์มควบคไปดวย
                                                                                                          ้
                  อีกทั้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบยังมักนำผลผลิตที่เหลือจากการสกัดน้ำมันปาล์มมาใช้ประโยชน์อื่น ๆ เชน
                                                                                                           ่
                                                                     ้
                  กากปาล์มใช้ผลิตอาหารสตว์ หรือการใช้ทะลายปาล์มเปล่า เสนใย และกะลาปาล์มเป็นเชื้อเพลิง โรงกลั่นน้ำมัน
                                       ั
                  ปาล์มบริสุทธิ์ (อุตสาหกรรมขั้นปลาย) จำนวน 21 ราย มีกำลังการผลิตรวม 2.50 ล้านตันต่อปี ซึ่ง
                  ผู้ประกอบการรายใหญ่มักลงทุนในธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานด้วย เช่น โรงงานสกัดน้ำมันปาลมดิบ
                                                                                                         ์
                                                                                     ู
                                                                                                           ิ
                                                                   ุ
                                                              ์
                  และธุรกิจผลิตน้ำมันพืช แต่ปัจจุบันโรงกลั่นน้ำมันปาลมบริสทธิ์ในไทยไม่สามารถดดซับอุปทานน้ำมันปาลมดบ
                                                                                                         ์
                                                                                                           ์
                  ได้ทั้งหมด โรงสกัดน้ำมันปาลมดบจึงตองพึ่งพาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อระบายอุปทานน้ำมันปาลม
                                          ์
                                                 ้
                                             ิ
                                                                                                            ั
                  ดิบส่วนเกิน อาทิ โรงงานผลิตน้ำมันไบโอดีเซล (B100) โรงงานไฟฟ้าและไอน้ำ โรงงานไบโอแก๊ส และคลง
                  จัดเก็บน้ำมัน เป็นต้น
                      อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับปาล์มน้ำมัน และการส่งเสริมการผลิตและ
                  การตลาดของทางการยังขาดความเชื่อมโยง เช่น อุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมโอลิโอเคมิคอล
                  (Oleochemicals เป็นอุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์จากไขมันปาล์มเพื่อใช้ในการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค) อยู่
                  ภายใต้กำกับของกระทรวงอุตสาหกรรม ขณะที่อุตสาหกรรมไบโอดีเซลดแลโดยกระทรวงพลังงาน ประกอบกับ
                                                                             ู
                  ศักยภาพการผลิตน้ำมันปาล์มดิบของไทยยังอยู่ในระดับต่ำ ซึ่งนับเป็นข้อจำกัดด้านการแข่งขันในตลาดโลก
                  สอดคล้องกับช่วงก่อนหน้า (พ.ศ. 2557 - 2561) อัตราการใช้กำลังการผลิตของโรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบอยู่ท ี่

                  ระดับเพียงร้อยละ 40 - 50 เทียบกับมาเลเซียที่ใช้กำลังการผลิตถึงร้อยละ 75 (ณรงค์ฤทธิ์และศิรดา, 2563;

                  ประชาชาติธุรกิจ, 2564) ขณะที่ต้นทุนการผลิตน้ำมันปาล์มของไทยสูงกว่าอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งเป็นผล
                  จากการที่ผลผลิตปาล์มสดต่อไร่ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ 2.7 ตัน ขณะที่อินโดนีเซียมีผลผลิตเฉลี่ย 2.9 ตัน และ

                  มาเลเซีย 3.3 ตัน ประกอบกับอัตราการสกัดน้ำมัน (Oil Extraction Rate, OER) ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 17
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88