Page 84 -
P. 84
ิ
ื
ิ
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
62
- 18 ขณะที่มาเลเซียและอินโดนีเซียมีอัตราการสกัดน้ำมันอยู่ที่ร้อยละ 20 และ 22 ตามลำดับ เนื่องจาก
ู
เกษตรกรไทยมักเก็บเกี่ยวผลปาล์มก่อนสุก อัตราการให้น้ำมันจึงต่ำ รวมถึงการที่โครงสร้างเกษตรกรผู้ปลก
ปาล์มน้ำมันของไทยส่วนใหญ่เป็นรายย่อย มีพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ยเพียง 10 - 20 ไร่ต่อราย เท่านั้น ต่างจาก
อินโดนีเซียและมาเลเซียทเป็นเกษตรกรรายใหญ่มากกว่าร้อยละ 80 และมีพื้นที่ปลูกเฉลยมากกว่า 200 ไร่ตอ
ี่
่
ี่
ิ
ราย นอกจากนี้ การจัดการผลผลิตของเกษตรกรไทยยังขาดประสทธิภาพ เช่น กระบวนการคัดเลือกพันธุ์ปาลม
์
การบำรุงรักษา การเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาผลปาล์มสด อีกทั้งการขายผลปาล์มสดมักต้องผ่านพ่อคาคน
้
่
้
กลางหรือลานเททอยู่ในบริเวณใกลเคียงเทานั้น เนื่องจากปริมาณผลผลิตต่อรายน้อยจึงไม่คุ้มทจะขนสงไปขาย
ี่
ี่
่
ตรงกับโรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบ
ด้วยเหตุนี้ เครือข่ายองค์การบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ซึ่งประกอบด้วย สำนักงานการวิจัยแห่งชาต ิ
(วช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงาน
คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และสำนักงานคณะกรรมการ
ั
การอุดมศึกษา (สกอ.) จึงร่วมมือกันผลักดนและขับเคลื่อนให้ปาล์มน้ำมันไทยสามารถแข่งขันอย่างยังยืนได้ใน
่
ตลาดโลก ทั้งในเรื่องของการพัฒนาสายพันธุ์ คิดค้นเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยลดต้นทุนการผลิต ตลอดจน
ออกแบบสร้างสรรค์นวัตกรรมในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ตาง ๆ อาทิ อาหาร เครื่องสำอาง เชื้อเพลิงยานพาหนะ
่
เป็นต้น (กรมการค้าภายใน, 2564b; ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2563; สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), 2560)
2.4.3 อุตสาหกรรมปาล์มน ำมันในพื นที่ระเบียงเศรษฐกิจ าคใต ้
้
้
จากการกำหนดอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป้าหมายในการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตที่ไดจาก
การพิจารณาข้อมูลโครงสร้างการผลิตของภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่มีความโดดเด่นในพื้นที่ระเบียง
้
เศรษฐกิจภาคใต ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน จึงได้มีการศึกษาโครงสร้างการตลาดสินค้าปาล์มน้ำมันในพื้นที่ระเบียง
้
เศรษฐกิจภาคใตเพิ่มเติม สำหรับใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศนย์
ู
ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. สถานการณ์ด้านการผลิต (อุปทาน)
ในปี พ.ศ. 2560 พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้มีเนื้อที่ให้ผลปาล์มน้ำมันคิดเป็นร้อยละ 51.36 ของเนื้อท ี่
ให้ผลทงหมด โดยมีจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นจังหวัดที่มีเนื้อที่ให้ผลปาล์มน้ำมันมากที่สุดของประเทศ (ร้อยละ
ั้
่
21.85) โดยปี พ.ศ. 2560 นี้ พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้มีเนื้อที่ให้ผล 2.56 ล้านไร่ ให้ผลผลิตที่ออกสูตลาด
ั้
6.33 ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 43.80 ของผลผลิตทงหมดที่ออกสู่ตลาดในประเทศ
2. สถานการณ์ด้านการตลาด (อุปสงค์)
์
ผลปาล์มน้ำมันของพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ทั้งหมดที่ออกสู่ตลาดร้อยละ 75.99 เกษตรกรผู้ปลูกปาลม
น้ำมันจะขายผลผลิตให้กับลานเทปาล์มน้ำมัน ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 24.01 เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันจะขาย
ผลผลิตให้กับโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยตรง ทั้งนี้ ที่เกษตรกรนิยมขายผลผลิตให้กับลานเทเนื่องจากมี